การส่งเสริมพลังอำนาจในสตรีทีต้องการเลียงลูกด้วยนมแม่
คำสำคัญ:
นมแม่, สมรรถนะของตนเอง, พลังอำนาจ, breast feeding, self efficacy, empowermentบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการเสนอแนะเกียวกับวิธีการเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีที่ีต้องการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ โดยให้แม่มีการรับรู้สมรรถนะของตนเอง ซึงการรับรู้สมรรถนะของตนเอง (perceived self-efficacy) หมายถึง ความเชื่อว่าตนเองสามารถทีจะมีพฤติกรรมหรือประกอบกิจกรรมที่กำหนด ได้ ซึ่งเป็นปัจจัยทีสำคัญมากทที่นำไปสู่การปฏิบัติจริงเพือให้เกิดผลลัพธ์ที่ีคาดหวังไว้ ผู้เขียนได้ นำเสนองานวิจัยในการเสริมสร้างพลังอำนาจรายบุคคลโดยให้แม่มีการรับรู้สมรรถนะของตนเองว่า สามารถที่ีจะให้นมแม่แก่ลูกได้ ร่วมกับการให้ความรู้เรื่องการให้นมแม่ ซึงผลการวิจัยพบว่าอัตรา การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในกลุ่มทีได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในสัปดาห์ที่ี 4, 8, และ12 หลังคลอด พยาบาลจึงควรมีการส่งเสริมให้สตรีทีเป็นแม่เลี้ยงดูลูกด้วยนม ตนเองโดยให้แม่เหล่านั้นรับรู้ถึงสมรรถนะของตนเอง เพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจ และนำไปสู่ ความสำเร็จในการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่ต่อไป
คำสำคัญ : นมแม่, สมรรถนะของตนเอง, พลังอำนาจ
Abstract
The purpose of this paper was to explain an empowerment program for mothers who focused on breast feeding. Perceived self-efficacy is the personal belief or confidence to act in each situation. It is the important key factor of successfulness in breast feeding. The author gave an example of research Resolts from the empowerment program, which consisted of giving mothers information on breast feeding and increasing their perceived self-efficacy. It was found that mothers who attended the empowerment program were more successful in breast feeding in the 4th, 8th, and 12th weeks after giving birth. Therefore, nurses should encourage mothers for improving their perceived self-efficacy to empower them for successful breast feeding.
Keywords : breast feeding, self efficacy, empowerment
Downloads
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว