ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการติดเชื้อ Helicobacter pylori กับการตรวจ Narrow Band Imaging
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ ศึกษาลักษณะของ gastric mucosal patterns จาก NBI กับผู้ป่วยที่ติดเชื้อ H.Pylori ที่มีอาการปวดแน่นท้อง (Dyspepsia)
ระเบียบวิธีวิจัย การวิจัยนี้ Prospective cohort study ในผู้ป่วย 377 คนที่มีอาการปวดแน่นท้อง (Dyspepsia) และได้รับการตรวจด้วยวิธีส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบนในโรงพยาบาลตำรวจ ระหว่าง 1 มิถุนายน ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยใช้ลักษณะของ gastric mucosal patterns จาก NBI ในผู้ป่วย dyspepsia โดยวิเคราะห์ sensitivity, specificity, positive predictive value, negative predictive value
ผลการศึกษา ผู้ป่วยจำนวน 377 คน เป็นเพศชาย 197 คน (52.2%) เพศหญิง 180 คน (47.8%) โดยมีอายุเฉลี่ยที่ 59.8 ปี และมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เฉลี่ยเท่ากับ 25.5 kg/m2, rapid urease test ให้ผลบวก จำนวน 74 คน และให้ผลลบ จำนวน 303 คน โดยการตรวจ NBI นั้นพบว่ามี normal gastric mucosal pattern จำนวน 294 คน (78%) และ abnormal gastric mucosal pattern รวมทั้งหมด 83 คน (22%) เมื่อหาความสัมพันธ์กับผู้ป่วยที่ติดเชื้อ H.pylori โดยใช้ผล rapid urease test แล้วจะมีค่า sensitivity 87.8% (95%CI 78.2%- 94.3%), specificity 94.1 % (95%CI 90.8%- 96.4%), positive predictive value 78.3% (95%CI 67.9%- 86.6%), negative predictive value 96.9% (95%CI 94.3%- 98.6%) และมีค่า disease prevalence 19.6% (95%CI 15.7%- 24%),Negative likelihood ratio=0.13 , Positive likelihood ratio=14.79
สรุป การใช้ NBI ในการตรวจผู้ป่วย Dyspepsia จะทำให้สามารถเห็นพยาธิสภาพของกระเพาะอาหารได้ดียิ่งขึ้นกว่าการตรวจด้วยกล้องส่องทางเดินอาหารส่วนบนแบบปกติ ซึ่งไม่ได้มีค่าใช้จ่าย หรือทำให้คนไข้บาดเจ็บเพิ่มมากขึ้น โดยจะมีประโยชน์ทั้งในการติดตามการรักษา หรือยืนยันตำแหน่งพยาธิสภาพเพื่อใช้ในการตรวจชิ้นเนื้อเพิ่มเติม
คำสำคัญ : กระเพาะอาหารอักเสบ, แบคทีเรียเฮลิแบคเตอร์โพโลไร, กล้องบีเอ็นไอ, ปวดท้อง, กล้องส่องกระเพาะอาหาร
References
McColl KE. Clinical practice. Helicobacter pylori infection. The New England journal of medicine. 2010;362(17):1597-604.
Uemura N, Okamoto S, Yamamoto S, Matsumura N, Yamaguchi S, Yamakido M, et al. Helicobacter pylori infection and the development of gastric cancer. The New England journal of medicine. 2001;345(11):784-9.
Mannath J, Ragunath K. Narrow band imaging and high resolution endoscopy with magnification could be useful in identifying gastric atrophy. Digestive diseases and sciences. 2010;55(6):1799-800.
Gono K, Obi T, Yamaguchi M, Ohyama N, Machida H, Sano Y, et al. Appearance of enhanced tissue features in narrow-band endoscopic imaging. Journal of biomedical optics. 2004;9(3):568-77.
Tahara T, Shibata T, Nakamura M, Yoshioka D, Okubo M, Arisawa T, et al. Gastric mucosal pattern by using magnifying narrow-band imaging endoscopy clearly distinguishes histological and serological severity of chronic gastritis. Gastrointest Endosc. 2009;70(2):246-53.
Bansal A, Ulusarac O, Mathur S, Sharma P. Correlation between narrow band imaging and nonneoplastic gastric pathology: a pilot feasibility trial. Gastrointestinal Endoscopy. 2008;67(2):210-6.
Ezoe Y, Muto M, Horimatsu T, Minashi K, Yano T, Sano Y, et al. Magnifying narrow-band imaging versus magnifying white-light imaging for the differential diagnosis of gastric small depressive lesions: a prospective study. Gastrointestinal Endoscopy. 2010;71(3):477-84.
Yagi K, Saka A, Nozawa Y, Nakamura A. Prediction of Helicobacter pylori status by conventional endoscopy, narrow-band imaging magnifying endoscopy in stomach after endoscopic resection of gastric cancer. Helicobacter. 2014;19(2):111-5.
Fock KM, Ang TL. Epidemiology of Helicobacter pylori infection and gastric cancer in Asia. Journal of gastroenterology and hepatology. 2010;25(3):479-86.
Alaboudy AA, Elbahrawy A, Matsumoto S, et al. Conventional narrow-band imaging has good correlation with histopathological severity of Helicobacter pylori gastritis. Dig Dis Sci. 2011;56:1127–1130.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของโรงพยาบาลมหาสารคาม