ชุดนวัตกรรมส่งเสริมการบริหารแขนและไหล่หลังการผ่าตัดเต้านม : จากหลักฐานเชิงประจักษ์สู่การสร้างนวัตกรรม

ผู้แต่ง

  • อนุชา ไทยวงษ์
  • นฤมล เอนกวิทย์
  • วิรัตน์ดา สาระโภค
  • นัธทวัฒน์ อุราแก้ว
  • นฤมล จิตสวา
  • น้ำฝน แผ้วพลสง
  • เบญจวรรณ จันที
  • มาลินี ปฏิทันโต
  • ลักขณา รัตนพลแสน
  • สุนิสา มาแก้ว

บทคัดย่อ

ภาวะข้อไหล่ติดเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญและพบได้มากกว่า ร้อยละ 50 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่รักษาด้วยการผ่าตัด การส่งเสริมให้ผู้ป่วยบริหารแขนและไหล่จึงเป็นกิจกรรมการพยาบาลที่สำคัญในการป้องกันภาวะข้อไหล่ติด ซึ่งเริ่มตั้งแต่ก่อนการผ่าตัดจนกระทั่งหลังการผ่าตัดโดยการสอนและให้คำแนะนำ การฝึกปฏิบัติ การติดตามและประเมินผลเป็นระยะ ชุดนวัตกรรมส่งเสริมการบริหารแขนและไหล่นี้พัฒนาขึ้นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่น่าเชื่อถือและทันสมัย ประกอบด้วย 1)  แผนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเต้านม  2) แบบบันทึกการบริหารแขนและไหล่ประจำวัน 3) แฟ้มการให้ข้อมู ลก่อนการผ่าตัด และ 4) สิ่งประดิษฐ์ถุงพยุงเดรน ชุดนวัตกรรมนี้จะเป็นเครื่องมือสำคัญทางการพยาบาลในการป้องกัน ภาวะข้อไหล่ติดที่มีประสิทธิภาพหลังการผ่าตัดเต้านม ตลอดจนส่งเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเมื่อก ลับบ้านต่อไป

คำสำคัญ : การผ่าตัดเต้านม , ภาวะข้อไหล่ติด, การบริหาร, นวัตกรรม

References

ภรณี เหล่าอิทธิ, นภา ปริญญานิติกุล. มะเร็งเต้านม :ระบาดวิทยา การป้องกัน และแนวทางการคัดกรอง. จุฬาลงกรณ์เวชสาร 2559;60 (5) : 497-507.

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. รายงานทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล (Hospital-Based CancerRegistry). กรุงเทพฯ: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2552.

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. รายงานทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล (Hospital-Based CancerRegistry). กรุงเทพฯ: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2560.

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. รายงานทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล (Hospital-Based Cancer Registry).กรุงเทพฯ : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข;

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. แนวทางการตรวจคัดกรองวินิจฉัย และรักษาโรคมะเร็งเต้านม. กรุงเทพฯ :กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2555.

จิราภรณ์ มากดผลของโปรแกรมการบริหารข้อไหล่ร่วมกับการบริหารกายจิตด้วยชี่กงต่อความสามารถในการเคลื่อนไหวข้อไหล่ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังได้รับการผ่าตัด. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์;37(1) : 38-52.

นงนุช ทากัณหา, สุปรีดา มั่นคง, ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม.ผลของโปรแกรมการบริหารแขนและไหล่ต่อความสามารถในการบริหารและภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการผ่าตัด.รามาธิบดีพยาบาลวารสาร 2553;16(1) : 143-144.

ธิติมา กนกปราน, ผ่องศรี ศรีมรกต, ศิริอร สินธุ, สืบวงศ์จุฑาภิสิทธิ์. ผลของโปรแกรมการกำกับตนเองในการบริหารข้อไหล่ที่บ้านต่อองศาการเคลื่อนไหวและการทำหน้าที่ของข้อไหล่ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2557;32(3):78-80.

Ebaugh D, Spinelli B, Schmitz KH. Shoulder impairments and their association with symptomatic rotator cuff disease in breast cancer survivors. Med Hypotheses
;77(4) : 481-7.

Cheville AL, Tchou J. Barriers to rehabilitation following surgery for primary breast cancer. J Surg Oncol 2007;95:409-418.

McNeely ML, Campbell K, Ospina M, Rowe BH, Dabbs K, Klassen TP, Mackey J, Courneya K.Exercise interventions for upper-limb dysfunction due to breast cancer treatment. Cochrane Database Syst Rev;16(6) : CD005211.

Cinar N, Seckin Ü, Keskin D, Bodur H, Bozkurt B, Cengiz Ö. The effectiveness of early rehabilitation in patients with modified radical mastectomy. Cancer nursing
;31(2) : 160-5.

Chan DN, Lui LY, So WK. Effectiveness of exercise programmes on shoulder mobility and lymphoedema after axillary lymph node dissection for breast cancer:
systematic review. Journal of Advanced Nursing 2010;66(9):1902-14.

De GA, Van KM, Dieltjens E, Christiaens MR, Neven P, Geraerts I, Devoogdt N. (2015). Effectiveness of postoperative physical therapy for upper-limb impairments after
breast cancer treatment: a systematic review. Archives of physical medicine and rehabilitation 2015;96(6) : 1140-53.

Canadian Cancer Society. Exercises after breast surgery. 2011 [cited October 30, 2017]. Available from: https://www.cancer.ca/.../cancer.../ Exercises%20after%20breast%20 surge

Stevens K. The Impact of evidence-based practice in nursing and the next big ideas OJIN : The Online Journal of Issues in Nursing 2013;18(2): Manuscript 4. DOI :
3912/OJIN. Vol 18 No 02 Man 04

Flemming K, Fenton M. Making sense of research evidence to inform decision making. In Thompson C. Dowding D. editors. Clinical decision making and judgment in
nursing. Toronto: Harcourt Publishers Limited ; 109-29.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-29