ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะเลือดข้นในทารกแรกเกิดในโรงพยาบาลบรบือ
คำสำคัญ:
ภาวะเลือดข้นในทารกแรกเกิด, ทารกแรกเกิดบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง case-control study เพื่อทราบถึงปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะเลือดข้นในทารกแรกเกิด เก็บข้อมูลจากเวชระเบียนโรงพยาบาลบรบือ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2564 มีผู้เข้าร่วมการศึกษาทั้งหมด 99 ราย เป็นกลุ่มศึกษาที่มีภาวะเลือดข้นในทารกแรกเกิด 33 รายและกลุ่มควบคุมที่ไม่มีภาวะเลือดข้นในทารกแรกเกิด 66 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและ Chi-square test พบปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะเลือดข้นในทารกแรกเกิด ได้แก่ ทารกที่คลอดก่อนกำหนด, ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม, ทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อยเมื่อเทียบกับอายุครรภ์ (SGA), ทารกน้ำหนักแรกเกิดมากเมื่อเทียบกับอายุครรภ์ (LGA), ทารกแรกเกิดที่มารดามีโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์, ทารกแรกเกิดที่มีปอดอักเสบเป็นโรคร่วมขณะที่นอนรักษาในโรงพยาบาลและทารกที่คลอดด้วยวิธีการผ่าตัด
References
Sarkar S, Rosenkrantz TS. Neonatal polycythemia and hyperviscosity. Seminar in fetal and neonatal medicine 2008;13:248-55.2. Kliegman RM, St. Geme JW, Blum NJ, Shah SS, Tasker RC, Wilson KM. Blood disorders. In: Kliegman RM, St. Geme JW, Blum NJ, Shah SS, Tasker RC, Wilson KM, eds. Nelson Textbook of Pediatrics. 21st ed. Philadelphia, PA: Elsevier 2020;chap 124.
Sarici SU, Ozcan M, Altun D. Neonatal polycythemia: A Review. Clinical medical reviews and case reports 2016;3(11):1-6.
Ali AF, Hasan KH. Risk factors and evidence of neonatal polycythemia in Duhok maternity hospital a Cross-section study. Health science journal 2020;14(6):763.
Remon JI, Raghavan A, Maheshwari A. Polycythemia in the newborn. Neoreviews 2011;12(1):20-8.
Hajduczenia M. Polycythemia of the newborns. Arch perinatal med 2010;16(3):127-33.
Sankar MJ, Agerwal R. Management of polycythemia in neonates. Indian J Pediatr 2010;77(10):1117-21.
Abbas SA, Fayadh HF. Neonatal polycythemia: risk factors, clinical manifestation and treatment applied. The Iraqi postgraduate medical journal 2013;12(3):390-5.
Chalabi DA, Zangana KO. Neonatal polycythemia, Presentations and associations: A case control study. Journal of Kurdistan board of medical specialties 2018;4(1):68-72.
Kelsey J.L., Whittemore A.S., Evans A.S., Thompson W.D. Methods in Observational Epidemology. Oxford University Press, 1996.
Aggarwala R, Punj A. Fetal risk factors, clinical profile, umbilical cord blood haematocrit as a screening test for polycythemia. International journal of science and research 2015;5(12):1788-92.
Alsafadi TRM, Hashmi SM, Youssef HA, Suliman AK, Abbas HM, Albaloushi MH. Polycythemia in neonatal intensive care unit, risk factors, Symptoms, Pattern, and management controversy. Journal of clinical neonatology 2014;3(2):93-6.
Tipan T, Ochoa E, Tipan J. Polycythemia in the newborn: prevalence and associated factors. Ecuatorian journal of pediatrics 2021;22(1):1-6.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น