การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก กรณีศึกษา : ตำบลนิคมคำสร้อย อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร

ผู้แต่ง

  • ธัญพิชชญา พิมพ์ดี สาขาวิชาการจัดการระบบสุขภาพปฐมภูมิ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอิสเทิร์น

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วม, การส่งเสริม, พัฒนาการเด็กเล็ก

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก ตำบลนิคมคำสร้อย อำเภอนิคมคำสร้อย จังหวัดมุกดาหาร กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้รับผิดชอบงานการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กในชุมชน จำนวน 50 คน ศึกษาช่วงเดือน เมษายน-ธันวาคม 2563 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการแจกแจงความความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เนื้อหา และ สถิติ t-test ผลการวิจัยพบว่า เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลนิคมคำสร้อยร่วมกับคณะกรรมการดำเนินงาน ได้ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงดูเด็ก และคณะกรรมการดำเนินงานมีส่วนช่วยในการดูแลเด็ก มีคณะกรรมการดำเนินงานแนะนำเรื่องการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่วนใหญ่เป็นคำแนะนำเรื่องการให้อาหารเสริม ในเด็กที่คลอดใหม่แนะนำให้กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ส่วนใหญ่ผู้ปกครองเด็กตอบว่าเข้าใจคำแนะนำที่ได้รับ แต่ไม่สามารถปฏิบัติได้ทั้งหมด และพบว่า ผู้ปกครองยังไม่ตระหนักและยังไม่เห็นคุณค่าการใช้คู่มืออนามัยแม่และเด็ก และคู่มือเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยเท่าที่ควร และเชื่อว่าบุตรหลานของตนมีพัฒนาการสมวัย กระบวนการพัฒนาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเสริมสร้างพลังอำนาจ ประกอบด้วย 4 ระยะ ได้แก่ การค้นพบสภาพจริง การสะท้อนคิดและวางแผนแก้ไขปัญหา การตัดสินใจเลือกวิธี และการดำเนินการแก้ไขปัญหา และการธำรงไว้ซึ่งการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ และด้านผลของกระบวนการพัฒนา พบว่า หลังกระบวนการพัฒนา ผู้เข้าร่วมวิจัยมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก ทักษะการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก และ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-Value <0.05) ส่วนการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็ก ไม่มีความแตกต่างกัน

References

กุนนที พุ่มสงวน. (2557). การสร้างเสริมพลังอำนาจทางสุขภาพ : บทบาทที่สำคัญของพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 86-90.

จินตนา พัฒนพงศ์ธร. (2561). รายงานการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2560. สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย, 6(1), 8-34.

จุฬีวรรณ เติมผล. (2561). การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย. จุลสารสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สำนักพิมพ์สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. 10-11.

https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/article/article_20180531155204.pdf

ชฎาภรณ์ ชื่นตา, สุภาพร แก้วใส, และ สมจิต แซ่ลิ้ม. (2561). การพัฒนาการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจังหวัดยโสธร. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2560). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. ใน ชูศรี วงศ์รัตนะ (บ.ก.), เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนม์ธิดา ยาแก้ว. (2560). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตพื้นที่ภาคตะวันออก (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2562, 4 กันยายน). พัฒนาการเด็ก. ศูนย์วิชาการแฮปปี้โฮม. https://www.happyhomeclinic.com/sp02-development.htm

ทิพยา ถนัดช่าง. (2562, 4 กันยายน). 3 ปีแรก จังหวะทองของพัฒนาการ. https://www.si.mahidol.ac.th/th/division/daycare/admin/news_files/4_85_1.pdf

ทิพย์ภารัตน์ ไชยชนะแสง. (2560). การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 1 – 2 ปี. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(4), 176-184.

ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย. (2556). การดูแลเด็กสุขภาพดี. ใน ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย (บ.ก.), ตำราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก เล่ม 3. (น. 2-21). ชมรมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กแห่งประเทศไทย.

ธัญลักษณ์ ตั้งธรรมพิทักษ์. (2561). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพเด็กโดยชุมชนมีส่วนร่วม.วารสารพยาบาลทหารบก, 19(พิเศษ), 222-229.

นาถอนงค์ บำรุงชน, พนิดา รัตนไพโรจน์, และ จารุวรรณ ประดา. (2557). การพัฒนาโปรแกรมเสริมพลังอำนาจผู้ดูแลผู้บกพร่องทางพัฒนาการและสติปัญญา. วารสารราชานุกูล, 28(2), 125-140.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2551). การเขียนรายงาน การวิจัยและวิทยานิพนธ์. ใน บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (บ.ก.), คู่มือการวิจัย พิมพ์ครั้งที่ 9. จามจุรีโปรดักท์.

มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม. (2563, 6 มกราคม). บทที่ 5 ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย. http://elearning.psru.ac.th/courses/77/unit5.pdf

วิจิตร จันดาบุตร, วิทยา อยู่สุข, และ วิโรจน์ เซมรัมย์. (2561). การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสีวิเชียร จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 13(1), 208-219.

สถาบันพระปกเกล้า. (2563, 22 กุมภาพันธ์). การมีส่วนร่วม แนวคิด ทฤษฎี และกระบวนการ.

http://www.kpi.ac.th/public/knowledge/research/data/282

สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ. (2563). คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย.สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก. http://203.157.71.148/data/cluster/mom/download/DSPM-63.pdf

สถาบันราชานุกูล. (2562, 4 กันยายน). ผลการสำรวจสถานการณ์ IQ EQ เด็กไทย ปี 2559.

https://th.rajanukul.go.th/preview 3958.html

สราวุธ ราชศรีเมือง. (2562). ส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย(อายุ 0-3 ปี) การเล่นและการสื่อสารสำหรับพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็ก. คู่มือพัฒนาการเด็กและแนวทางการเลี้ยงดูเด็ก. มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย. https://dol.thaihealth.or.th/Media/Index/bfc82853-f7b8-e911-80e8-00155d09b41

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2559, 6-8, พฤษภาคม). พัฒนาการเด็กปฐมวัยรากแก้วแห่งชีวิต. ใน ประเวศ วะสี, อภิวัฒน์การเรียนรู้ สู่จุดเปลี่ยนประเทศไทย, กรุงเทพมหานคร.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2562, 4 กันยายน). การบริหารงานภาครัฐแบบมีส่วนร่วม. https://www.opdc.go.th/content/Mjc4Nw

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ. พริกหวานกราฟฟิค. http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2019/2/2229_6020.pdf

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). (ม.ป.ท.)

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร. (2562). รายงานการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 2 ประจำปี 2562. โรงพิมพ์มุกดาหาร.

สำนักตรวจและประเมินผล. (2559). แนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ปี 2559. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.

สิริกัญญา ฤทธิ์แปลก. (2557). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 1 – 3 ปี โดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม : กรณีศึกษาชุมชนตำบลบ้านยาง จังหวัดบุรีรัมย์.วารสารวิจัยและการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฎเลย, 11(ฉบับพิเศษ), 100-119.

สุริยเดว ทรีปาตี. (2557, 4 กันยายน 2562). เปิดสถานการณ์เด็กปฐมวัยพบ 1 ใน 3 พัฒนาการล่าช้า.https://www.thaihealth.or.th/Content/19353 : 2557

สมบัติ นามบุรี. (2562). ทฤษฎีการมีส่วนร่วมในงานรัฐประศาสนศาสตร์. วารสารวิจยวิชาการ, 2(1), 184-186.

องอาจ นัยพัฒน์. (2551). พฤติกรรมศาสตร์ การวิจัย. ใน องอาจ นัยพัฒน์ (บ.ก.), วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.

Bloom, B. M. (1968). Mastery learning. UCLA – CSEIP Evaluation Comment. (2nd ed.). Los Angeles.

Cohen, J. M. & Uphoff, N. T. (1981). Rural Development Participation : Concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center for International Studies, Cornell University.

Conger, J. A., & Kanungo, R. N. (1988). The empowerment process : Integrating theory and practice. The Academy of Management Review, 13(3), 471–482.

Erwin, W. (1976). Participation management. In W. Erwin (Eds.), Participative Management Concepts, Theory, and Implementation. Atlanta, Ga : Georgia State University Press.

Gibson, C. H. (1995). A concept analysis of empowerment. Leading Global Nursing Research, 16(3), 354-361. https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1111/ j.1365-2648.1991.tb01660.x

Greasley, K. B., Bryman, A., Dainty, A., Price, A. & Soetanto, R. (2005). Employee Perceptions of empowerment. Employee Relations, 27, 354-368.

Johnson, P. A. (2008). Short Guide to Action Research A, (4th ed.). Pearson

Kemmis, S., McTaggart, R., & Nixon, R. (2014). Introducing Critical Participatory Action Research. The action research planner : In S. Kemmis, R. McTaggart & R. Nixon (Eds), Doing critical participatory action research (pp 1-31). Springer Singapore.

Larson, L. M., Martorell, R., & Bauer P. J. (2018). A Path Analysis of Nutrition, Stimulation, and Child Development among Young Children in Bihar, India. Child Development, 89(5), 1871–1886. https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov

/29529358/

Nermeen, E. N., Heather J. B., & Elizabeth, V. D. (2010). Parent Involvement and Children’s Academic and Social Development in Elementary School. Society for Research in Child Development, 81(3), 988-1005.

https://www.researchgate.net/publication/44697448_Parent_Involvement_and_Children's_Academic_and_Social_Development_in_Elementary_School

Page, N., & Czuba, C. E. (1999). Empowerment : What is it. Journal of extension, 37(5), 1-5. https://eric.ed.gov/?id=EJ594508

Portne, L. G. & Watkins M. P. (2000). Foundations of Clinical Research : Application toPracctices. (2nd ed.). Prentice Hall Health, Inc. Upper Saddle River.

Putti, J. M. (1987). Management : A Function Approach. Singapore, McGraw-Hill.

Walker, S. P., Chang, S. M., Younger, N., & Grantham-Mc Greger, S. M. (2010). The effect of psychosocial stimulation on cognition and behaviour at 6 years in a cohort of term, low-birthweight Jamaican children. Development Med Child Neurol, 52(7), 148-154. https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/20187877/

Wilson, P. A. (1996). Empowerment : Community Economic Development From the

Inside Out. Urban Studies, 33(4), 617-630. https://journals.sagepub.com/doi/10.1080/00420989650011753

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-08-31