ผลของโปรแกรมการส่งเสริมพฤติกรรมผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลร้อยเอ็ด
คำสำคัญ:
การส่งเสริมพฤติกรรม, การดูแลผู้ป่วย, มะเร็งเต้านม, ยาเคมีบำบัด, ผู้ดูแลบทคัดย่อ
มะเร็งเต้านมเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ และเป็นโรคที่คุกคามต่อสุขภาพสตรี การรักษาด้วยยาเคมีบำบัดทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์มาก ผู้ดูแลมีบทบาทสำคัญต่อจัดการอาการไม่พึงประสงค์จากยาเคมีบำบัด เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัดของผู้ดูแลก่อนและหลังการได้รับโปรแกรม และเปรียบเทียบพฤติกรรมผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัดก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมของผู้ดูแล ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi – experimental research) ทำการทดลองและเก็บรวบรวมในหน่วยเคมีบำบัด โรงพยาบาลร้อยเอ็ด จำนวน 40 คน กลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลองกลุ่มละ 20 คน
ผลการวิจัย พบว่า พฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัดของผู้ดูแล กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ก่อนเข้าโปรแกรมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับคะแนนพฤติกรรมการดูแลหลังเข้าโปรแกรมกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (t = -5.81, p < 0.0001)
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ควรส่งเสริมผู้ดูแลให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัดในทุกๆ ด้าน เพื่อให้ผู้ดูแลมีพฤติกรรมการดูแลที่เหมาะสม และผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
References
World Health Organization. Breast Cancer. [Online] [cited 2020]., Available from: https://www.who.int/newsroom/fact-sheets/detail/breast-cancer
Bray, McCarron, & Parkin. The Changing Global Patterns of Female Breast Cancer Incidence and Mortality. Breast Cancer Research 2017; 6(6): 229-239.
World Cancer Research Found. Global cancer statistics for the most common Cancers [Internet]. World Cancer Research Found; 2018. [cited 26 July 2020]. Retrieved from: https://www.wcrf.org/dietandcancer/cancertrends/worldwide-cancer data
สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ. อัตราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านม. [อินเตอร์เน็ต].[เข้าถึงเมื่อ 5 มีนาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hiso.or.th/hiso/visualize/Index.php?links=v236
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: นิวธรรมดาการพิมพ์ ; 2562.
Ferlay J., Laversanne M., Ervik M. & Lam F., Colombet M., Mery L., Pineros M., Znaor A., Soerjomataram I., Bray F. Global Cancer Observatory: Cancer Tomorrow. Lyon, France: International Agency for Research on Cancer 2020. Retrieved from: https://gco.iarc.fr/today.
ธัญชนก ลีธีระ. ผลของโปรแกรมอัตลิขิตต่อความผาสุกทางจิตของผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาแบบประคับประคอง. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2564.
สถิติข้อมูลผู้รับบริการหน่วยเคมีบำบัดโรงพยาบาลร้อยเอ็ด. สรุปรายงานประจำปี 2561 - 2564. ร้อยเอ็ด: โรงพยาบาลร้อยเอ็ด; 2564. (เอกสารอัดสำเนา)
National Cancer Institute. Cancer Treatment 2015. Retrieved from: https://www.cancer.gov/about-cancer/treatment.
Breastcancer.org. Pennsylvania (UK). Chemotherapy 2017. [Internet]. Available from: http://www.breastcancer.org /treatment/chemotherapy.
เพ็ญจิต มหาสโร, นันทวัน สุวรรณรูป และนันทิยา วัฒายุ. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลเด็กโรคหืดอายุ 1-6 ปี. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2560; 35(2): 64-73.
จารุวรรณ ปิยหิรัญ, ทวีศักดิ์ กสิผล และชฎาภา ประเสริฐทรง. ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วารสาร มฉก.วิชาการ 2561;22(43- 44): 130-142.
พิราลักษณ์ ลาภหลาย, ศุภร วงศ์วทัญญู และยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับประทานอาหารอย่างปลอดภัยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ต่อความรู้ การรับรู้ ความสามารถแห่งตน ความคาดหวังในผลลัพธ์จากการดูแล ความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลต่อ บริการที่ได้รับและความปลอดภัยในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2560; 23(1): 78-98.
Alizadeh, S., Tabrizi, F. M., Khanahmadi, S., & Barjasteh, S. The Effect of Family Based Intervention Program on Managerial Self-Efficacy Related to Chemotherapy Symptoms in Iranian with Breast Cancer; A Randomized Control Trial. International Journal of Health Medicine and Current Research 2018; 3(01):792-798. doi:10.22301/IJHMCR.2528-3189.792.
Havyer, R. D., Ryn, V. M., Wilson, P. M., & Griffin, J. M. The effect of routine training on the self-efficacy of informal caregivers of colorectal cancer patients. Supportive Care in Cancer 2017; 25(4): 1071-1077. doi:10.1007/s00520- 016-3494-6.
อรุณ จิรวัฒน์กุล. สถิติทางวิทยาศาสตร์สุขภาพเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์; 2558.
อรุณรัตน์ กาญจนะ. ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังจูงใจของมารดาต่อพฤติกรรมการดูแลบุตรโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับยาเคมีบำบัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ 2549.
ปรารถนา กันทอน. ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดของผู้ดูแล. (วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะ สาธารณสุขศาสตร์ 2564.
Bandura, A. Self-efficacy: The exercise of control 1997. New York: W.H Freeman and company New York
House, J. S., Social support and social structure. Sociological Forum 1987; 2(1): 135.
Hendrix, C. C., Landerman, R., & Abernethy, A. P. Effects of an individualized caregiver training intervention on self-efficacy of cancer caregivers. Western journal of nursing research 2013, 35(5): 590-610. doi: 10.1177/0193945911420742.
สิรัชญา มารักษา และคณะ. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่รักษาด้วยเคมีบำบัด. วารสารพยาบาลทหารบก 2564; 22(2): 435-442.
ทิพรัตน์ อิ้ววังโส. ปัจจัยที่มีผลต่อการกํากับดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ให้ยาเคมีบําบัดโรงพยาบาลทุ่งสง. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร 2565; 6(1): 44-53.
วรพรรณ เครือคล้าย และ มสินี สมภพเจริญ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคมะเร็งตับในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยการพยาบาลและสุขภาพ 2564; 22(1): 125-137.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น