การพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลท่าคันโท อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์
คำสำคัญ:
กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง, การวิจัยเชิงปฏิบัติการ, โรคความดันโลหิตสูงบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ 1 วงรอบ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลท่าคันโท ในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 128 คน และภาคีเครือข่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือวิจัยเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถาม และเครื่องมือเชิงคุณภาพด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงลึก ระยะเวลาการศึกษา 8 สัปดาห์ วิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า (1) การพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งนำข้อมูลสถานการณ์ และพฤติกรรมเสี่ยงร่วมกับการส่งเสริมความรอบรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง การสนับสนุน การแก้ไขปัญหา และอุปสรรคในการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง (2) การทดลองใช้ระบบการพัฒนา และผลลัพธ์ของการพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง พบว่า
การอบรมเชิงปฏิบัติการแบบบูรณาการจากผู้ที่เกี่ยวข้อง การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในชุมชนการจัดระบบการติดตามกลุ่มเสี่ยง การบูรณาการร่วมกันของทุกสหวิชาชีพ และการพัฒนาศักยภาพชุมชนในรูปแบบการดำเนินงานสร้างความร่วมมือจากโรงพยาบาล เทศบาล และทุกภาคส่วนเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ต่อไป
References
สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล, พนทิพย์ วชิรดิลก, และธีระ ศิริสมุด. รายงานการศึกษาสถานการณ์บริการการแพทย์ฉุกเฉินและการพัฒนาคุณภาพปฏิบัติการฉุกเฉินผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ10 มิถุนายน 2566]. เข้าถึงได้จาก; https://www.niems.go.th/1/UploadAttachFile/2022/EBook/415818_20220624102116.pdf
ศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). Resource Info: ข้อมูลบริการผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (Stroke) [อินเตอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 10 มิถุนายน 2566]. เข้าถึงได้จากจาก; https://data.go.th/en/dataset/dataset-pp_32_031
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข [HDC].ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาโรคหัวใจ และหลอดเลือด [อินเตอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 10 มิถุนายน 2566].เข้าถึงได้จาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/page.php?cat_id=39fd60c25235db479930db85a0e97dd3
Demming WE. Out of the Crisis. MIT Press. 1986.
Wayne WD. Biostatistics: A foundation of analysis in the health sciences. 1995.
กาญจนาพร ยอดภีระ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้. วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน 2562; 1(2): 19-27.
สินีนาฎ ทองสุข และอรสา กงตาล. การพัฒนาระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือสมองในชุมชนของโรงพยาบาลพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2564; 44(2): 86-97.
บำเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ. การมีส่วนร่วมของชุมชน ในการส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก 2561; 19(2): 2-11.
ไพรินทร์ พัสดุ และดารุณี จงอุดมการณ์. การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยง. วารสารพยาบาลสภาการชาดไทย 2563; 13(1): 179-95.
วิยะดา รัตนสุวรรณ, วิไลพร ศรีวัย และวิญญู แก้วเทพ. การพัฒนาศักยภาพชุมชน ในการป้องกันความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุที่มีโรคความดันโลหิตสูง. วารสารวิจัยการพยาบาลและสุขภาพ 2564; 22(2): 111-24.
ชลภัสสรณ์ วิวรรณพงษ์. การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก หอผู้ป่วยหนักศัลกรรมโรงพยาบาลยโสธร. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2555.
ตรึงตรา โพธิ์อามาตร์. การพัฒนารูปแบบการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขตพื้นที่ตำบลเมืองสรวง อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2562.
Best, J.W. Research in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.1977.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น