โรงพยาบาลบุษราคัม ต้นแบบการพัฒนารับมือ COVID-19 และโรคระบาดในอนาคต สู่การขยายผลในพื้นที่
คำสำคัญ:
โรงพยาบาลบุษราคัม, ต้นแบบการพัฒนา, โควิด-19บทคัดย่อ
การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ต้นแบบพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19
ในโรงพยาบาลบุษราคัม กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือ
1) ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องการจัดการระบบบริการจำนวน 10 คนเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก
2) กลุ่มตัวอย่างผู้ที่ปฏิบัติภารกิจในโรงพยาบาลจำนวน 30 คน เก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.79 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย () ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
พบว่า ผู้บริหารให้ความสำคัญการกำหนดนโยบาย ทิศทางดำเนินงาน การจัดระบบบริการ
ทางการแพทย์ พัฒนาเทคโนโลยีในการบริหารจัดการ มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล และผู้ปฏิบัติภารกิจในโรงพยาบาลบุษราคัมให้ความคิดเห็นโรงพยาบาลบุษราคัมมีความพร้อมการจัดระบบบริการต่อ COVID-19 ผลภาพรวมระดับมาก (= 4.02, S.D. = 0.73) ปัจจัยความสำเร็จ คือ ความร่วมมือทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการที่เป็นระบบ การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคบุคลากรไม่เพียงพอ มีข้อจำกัดในการใช้จ่ายงบประมาณ
ข้อเสนอแนะ มีการเตรียมการแผนรองรั[สถานการณ์ฉุกเฉินโรคอุบัติใหม่ที่อาจจะเกิดขึ้นอีก การบริหารจัดการระบบบริการ หน่วยงานกลางมีการบูรณาการกำหนดแนวทาง มาตรฐาน ข้อระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องรองรับกับสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
References
Wuhan City Health Committee (WCHC). Wuhan Municipal Health and Health Commission’s briefing on current pneumonia epidemic situation in our city 2019 [internet]. [cited 2023 Dec 9]. Available from: https://wjw.wuhan.go.cn/front/web/show Detail/2019 123108989.
Office of the Council on State. Extension of Duration of the Declaration of an Emergency Situation in all areas of the Kingdom of Thailand (13th Extension). Office of the Prime Min-ister [internet]. [cited 2022 Nov 21]. Available from: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2564/E/168/T_0031.PDF (in Thai).
Office of the Council on State. Regulation Issued under Section a of the Emergency Decree on Public Administration in Emergency Situations B.E. 2548 (2005). Office of the Prime Minister [internet]. [cited 2021 Nov 25]. Available from: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/E/140/T_0001.PDF. (in Thai).
UC Davis Health. Delta Variant : 8 Things You Should Know. Coronavirus; UC Davis Health : Sacramento, CA, USA [internet]. [cited 2022 Jan 19]. Available from: https ://health. Ocdavis. Edu/coronavirus/COVID-19-Information/delta-variant. html
อติญาณ์ ศรเกษตริน, ณัฐพงศ์ วงศ์วิวัฒน์, ธัญพร ชื่นกลิ่น, อัจฉราวดี ศรียะศักดิ์, นภัส แก้ววิเชียร, สุชาดา นิ่มวัฒนกุล และคณะ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายระบบบริการของหน่วยบริการตติยภูมิในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2566]; เข้าถึงได้จาก: https://www.Kb.hsri.or.th.
อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์, อรอนงค์ วิชัยคำ, กุลวดี อภิชาติบุตร, ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์, คัลทียา ศิริภัทรากูล แสนหลวง, เกศราภรณ์ อุดกันทา. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การศึกษาระบบบริหาร จัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19 : กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566]; เข้าถึงได้จาก: https://www.Kb.hsri.or.th.
Ivan Sanz – Munoz, Sonia Tamames – Gomez , Javier Castrogeza – Sanz, Jose Maria Eiras – Bouza and Raul Ortiz de Lejarazu – Leonardo. Social Distancing, Lockdown and the wide Use of Mask; A Magic Solution or a Double – Edged Sword for Respiratory Viruses Epi-demiology?Vaccines [internet]. [cited 2023 Dec 25]. Available from: https://doi. Org/10.3390/vaccjnes 9060595
กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. เรื่องเล่าโรงพยาบาลบุษราคัม กระทรวงสาธารณสุข หลายเรื่องราวหลายชีวิตในวิกฤตโควิด-19. นนทบุรี:กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข; 2565.
วิโรจน์ ณ ระนอง และคณะ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการประเมินผลเพื่อถอดบทเรียนการดำเนินการและจัดสรรงบวิจัยของกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) เพื่อรับมือกับการระบาดของโรค COVID-19 ในประเทศไทย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566]; เข้าถึงได้จาก: https : //www.tdri.or.th/2022/9 > the_n.
ศิราณี อิ่มน้ำขาว, ภรรวษา จันทศิลป์, ชัญญาวีร์ ไชยวงศ์, ทรงสุดา หมื่นไธสง, จงลักษณ์ ทวีแก้ว, ณัฐวุฒิ สุริยะ และคณะ. บทเรียนการจัดระบบบริการตติยภูมิในภาวะวิกฤตโควิด-19 พื้นที่ 4 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 17; 3: 473-489.
Qian He, Hui Xiao, Han-ming Li, Bei-bei Zhang, Cheng-wei Li, Fang-jian Yuan, Ping Kong.Practice in information technology support for Fangcang Shelter hospital during COVID-19 epidemic in Wuhan. China. Journal of medical system 45;42:1-8.
Rouhollah Zaboli, Shahram Toufighi, Mohammed Raiess Zadeh, Rouhollah Ghaed Amini, and Fatemeh Azizian. Key Performance indicators in field hospital appraisal: a Systematic review. Trauma mon 23; 1: 1-8.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น; 2556.
World Health Organisation.Strengthening the Health System Response to COVID-19: Main-taining the delivery of essential health care service while mobilizing the health workforce for theCOVID-19 Response. Technical working guidance #1. Copenhagen: WHO Regional Of-fice for Europe;2020.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น