ผลของรูปแบบการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคอ้วนของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน จังหวัดนครศรีธรรมราช
คำสำคัญ:
ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, การป้องกันโรคอ้วน, พฤติกรรมสุขภาพ, ภาวะน้ำหนักเกิน, เด็กวัยเรียนบทคัดย่อ
การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันโรคอ้วน ของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน จังหวัดนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กวัยเรียนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน ศึกษาช่วงเดือนมกราคม - เมษายน 2567 เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และรูปแบบการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ขั้นที่ 2 การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 5 กิจกรรม ใช้เวลา 12 สัปดาห์ ขั้นที่ 3 การมีส่วนร่วมในการได้รับผลประโยชน์ และขั้นที่ 4 การมีส่วนร่วมในการประเมินผล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent t-test และ Paired t-test
ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคอ้วน สูงกว่าก่อนทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุม และ
กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักตัว ต่ำกว่าก่อนทดลองและต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001)
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถนำรูปแบบการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนในเด็กวัยเรียนได้
References
World Health Organization. Obesity and overweight. [Internet]. 2019 [Cited 9 April 2023] Available from: https://www.who.int/news room/fact-sheets/detail/obesity-and-overweight
Lobstein T, Jackson-Leach R. Planning for the worst: estimates of obesity and comorbidities in school -age children in 2025. [Internet] 2016. [Cited 9 April 2023] Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/27684716/
ศูนย์อนามัยที่ 11 กรมอนามัย. สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียนประจำเดือนมีนาคม ปีงบประมาณ 2566. นครศรีธรรมราช: ศูนย์อนามัยที่ 11; 2566.
Reilly J, Armstrong J, Dorosty A, Emmett PM, Ness A, Steer C. Early life risk factors for obesity in childhood: cohort study. BMJ Open 2005; 330(7504): 1357.
Witkowska-Sedek E, Kucharska A, Ruminska M, Pyrzak B. Thyroid dysfunction in obese and overweight children. Endokrynol Pol 2017; 68(1): 54-60.
Groeneveld IF, Solomons NW, Doak CM. Nutritional status of urban schoolchildren of high and low socioeconomic status in Quetzaltenango, Guatemala. Rev Panam Salud Publica 2007; 3(22): 169-177.
Fukuyama S, Inaoka T, Matsumura Y, Yamauchi T, Natsuhara K, Kimura R, Ohtsuka R. Anthropometry of 5-19-year-old Tongan children with special interest in the high prevalence of obesity among adolescent girls. Ann Hum Biol 2005; 32(6): 714-723.
Franzini L, Elliott M, Cuccaro P, Schuster M, Gilliland M, Grunbaum J, Franklin F, Tortolero S. Influences of Physical and Social Neighborhood Environments on Children's Physical Activity and Obesity. Am J Public Health 2009; 99(2): 271-278.
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. แนวทางการคัดกรองส่งต่อและแก้ปัญหาเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข และคลินิก DPAC. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา; 2562.
ปุลวิชช์ ทองแตง, จันทร์จิรา สีสว่าง. ภาวะน้ำหนักเกินในเด็กไทย. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2554; 18(3): 287-297.
จันทิรา ไชยศรี. แนวปฏิบัติการพยาบาลที่เป็นเลิศเพื่อการจัดการภาวะอ้วนในเด็ก:การสังเคราะห์งานวิจัย. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ; 2556.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. การประเมินและการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข; 2557.
ศิริวรรณ ชอบธรรมสกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วน ของนักศึกษาปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา 2562; 8(1): 116-123.
Nutbeam D. Defining and measuring health literacy: What can we learn from literacy studies?. International Journal of Public Health 2009; 54(10): 303-305.
Cohen JM, Uphoff NT. Participation’s place in rural development: seeking clarity through specificity. World Development 1980; 8(3): 213-235.
วิไลวรรณ ภูศรีเทศ. ประสิทธิผลของโปรแกรมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันโรคอ้วนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์; 2564.
Best JW. Research in Education (3 ed.). Prentice Hall;1977.
นฤมล พราหมเภทย์, พรสุข หุ่นนิรันดร์. การพัฒนารูปแบบความรอบรู้สุขภาพของวัยรุ่นน้ำหนักเกินโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเครือข่ายสังคม ในเขตสุขภาพที่ 12. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2565; 9(2): 162-178.
ศศิธร รุจนเวช, กรรณิการ์ ฉัตรดอกไม้ไพร. ผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีน้ำหนักตัวเกิน ในจังหวัดนครปฐม. วารสารแพทย์นาวี 2564; 48(3): 591-610.
ชัชวาลย์ เพ็ชรกอง, พรรณี บัญชรหัตถกิจ. ผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพร่วมกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน. วารสารสุขศึกษา 2562; 42(2): 23-32.
Thammasarn K, Banchonhattakit P. Effects of Food Fit for Fun Program with Social Media Used on Health Literacy and Obesity Prevention Behaviors among Senior-Primary School Students, in Nakhon Ratchasima Province Thailand. Indian Journal of Public Health Research & Developmen 2020; 11(7): 1291-1297.
Kaewchin P, Banchonhattakit P. The Effects of an Integration of PRECEDE PROCEED Model and Health Literacy in Behavioral Modification for Weight Control among Overweight and Obesity of Adolescents in the Northeast of Thailand. Indian Journal of Public Health Research & Development 2019; 10(10): 946-951.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักณอักษรจากวารสารศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทยก่อนเท่านั้น