พิษกึ่งเรื้อรังของน้ำดีจระเข้สายพันธุ์ไทย (Crocodylus siamensis) ในหนูแรทสายพันธุ์ Sprague Dawley

ผู้แต่ง

  • ภัสสราภรณ์ ศรีมังกรแก้ว ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล นครปฐม
  • อมร ประดับทอง ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) กรุงเทพมหานคร
  • จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • สุดาวรรณ เชยชมศรี ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
  • วิน เชยชมศรี ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

น้ำดีจระเข้, การทดสอบความเป็นพิษกึ่งเรื้อรัง, Crocodylus siamensis

บทคัดย่อ

       น้ำดีจระเข้สายพันธุ์ไทยถูกใช้เป็นส่วนผสมในยาแผนโบราณมาเป็นเวลานาน แต่การศึกษาความปลอดภัยค่อนข้างจำกัด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นพิษกึ่งเรื้อรังของน้ำดีจระเข้สายพันธุ์ไทยในหนูแรท สายพันธุ์ Sprague Dawley โดยทำการป้อนสารที่ความเข้มข้น 2.5, 25 และ 250 มิลลิกรัม/กิโลกรัมน้ำหนักตัว ทุกวันต่อเนื่องกันเป็นเวลา 90 วัน ผลการทดสอบพบว่าน้ำดีจระเข้สายพันธุ์ไทย ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักตัว การบริโภคอาหารและน้ำดื่ม รวมถึงน้ำหนักสัมพัทธ์ของอวัยวะสำคัญ ค่าโลหิตวิทยาไม่มีความแตกต่างที่สัมพันธ์กับขนาดสารทดสอบทุกความเข้มข้น จากการทดสอบค่าเคมีคลินิกในเลือดพบว่าค่า ALT AST และ ALP ของหนูแรทที่ป้อนน้ำดีจระเข้ที่ความเข้มข้น 25 และ 250 มิลลิกรัม/กิโลกรัมน้ำหนักตัว เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญภายหลังหยุดให้น้ำดีจระเข้เป็นเวลา 14 วัน ขณะที่ค่า cholesterol ลดลง ส่วนการตรวจสอบทางพยาธิวิทยาไม่พบความเปลี่ยนแปลงในหนูทั้ง 2 เพศ ผลการศึกษาแสดงว่าน้ำดีจระเข้สายพันธุ์ไทยที่ความเข้มข้น 250 มิลลิกรัม/กิโลกรัมน้ำหนักตัว เมื่อป้อนให้หนูแรทสายพันธุ์ Sprague Dawley นั้นมีความปลอดภัย

References

China Pharmacopoeia Commission. Pharmacopoeia of the People's Republic of China. Beijing, China: Chemical Industry Press; 1997.

Picheinsutthorn C, Jeerawong V. Animal medicinal materials. In: Hand out of Thai medicinal pharmacy Vol. III. Bangkok: Amarin Press; 2003. p. 150-167.

Organization for Economic Co-operation and Development (OECD). OECD guidelines for the testing of chemicals No. 420: acute oral toxicity – fixed dose procedure [online]. 2001; [cited 2020 Apr 26]; [14 screens]. Available from: URL: https://ntp.niehs.nih.gov/iccvam/suppdocs/feddocs/oecd/oecd_gl420.pdf.

Srimangkornkaew P, Praduptong A, Siruntawineti J, Chaeychomsri S, Chaeychomsri W. Acute oral toxicity of Crocodylus siamensis bile in sprague dawley rats. Bull Dept Med Sci 2020; 62(1): 16-25.

Chaeychomsri W, Siruntawineti J, Osotsila I. Process suitable for the preservation of crocodile gall bladder for adding value to product. In: Proceeding of the 35th congress on science and technology of Thailand; 2009 Oct 15–17; Chonburi, Thailand. Bangkok, Thailand: The Science Society of Thailand Under the Patronage of His Majesty the King; 2009. p. 569-576.

Chaeychomsri W, Siruntawineti J. Process for preparation of crocodile blood powder and its product, Thai Petty Patent No. 5074. Bangkok, Thailand: Kasetsart University; 2006.

Organization for Economic Co-operation and Development (OECD). OECD guidelines for the testing of chemicals test No. 408: repeated dose 90-days oral toxicity study in rodents [online]. 2018; [cited 2019 Oct 20]; [16 screens]. Available from: URL: https://www.oecd-ilibrary.org/docserver/9789264070707-en.pdf?expires=1589271810&id=id&accname=guest&checksum=8BF6058D341C0664D65F9A5B948F0A99.

Suvarna SK, Layton C, Bancroft JD. Bancroft’s theory and practice of histological techniques. 8th ed. London, England: Elsevier; 2018.

Hofmann AF. The continuing importance of bile acids in liver and intestinal disease. Arch Intern Med 1999; 159(22): 2647-58.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-06-2020

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ (Original Articles)