ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่ง
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการป้องกัน, โรคโควิด-19, นักศึกษาพยาบาลบทคัดย่อ
การระบาดของโรคโควิด-19 ในนักศึกษาพยาบาลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น พฤติกรรมการป้องกันโรคจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต จำนวน 110 คน ได้จากการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 อยู่ในระดับสูง และ 2) ความรู้ ความเชื่อ และทัศนคติ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 (r (108) = .476, .339, .586, p < .01 ตามลำดับ) และสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ได้ร้อยละ 42 (R2 = 0.42, F(3, 106) = 20.59, p < .05) โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุด ได้แก่ ความเชื่อ (Beta = 0.41) รองลงมา คือ ความรู้ (Beta = 0.26) และทัศนคติ (Beta = 0.16) ตามลำดับ ดังนั้นการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ควรมุ่งเน้นการเสริมสร้างความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ ในการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 เพื่อป้องกันและลดการแพร่กระจายของเชื้อโควิด-19
References
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2565). ข้อมูลการจำแนกตามสายพันธ์ที่เฝ้าระวังและการกลายพันธ์ของเชื้อ. สืบค้นจาก https://www3.dmsc.moph.go.th/post-view/1599
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการปฏิบัติงาน ทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจทุกระดับ: ผู้ประสบภาวะวิกฤตในกรณีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). ม.ป.ท.: กรมสุขภาพจิต.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2565). สรุปสถิติทั่วโลก รายงานสถานการณ์โควิด-19 ทั่วโลก. สืบค้นจาก https://covid19.anamai.moph.go.th/en/
กิจการนักศึกษาและทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม. (2565). รายงานสถานการณ์ เกี่ยวกับ COVID-19. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา.
ธวัชชัย ยืนยาว, ไวยพร พรมวงค์, และกัลยารัตน์ คาดสนิท. (2564). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของนักศึกษาพยาบาลในเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลอุดรธานี, 29(2), 204-213.
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา. (2565). ประกาศวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา เรื่อง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรค COVID-19. 3 มีนาคม 2565.
นภาวรรณ วิริยะศิริกุล, และเบจวรรณ ถนอมชยธวัช. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 14(1), 86-96.
มาลีวัล เลิศสาครศิริ, และรัตนา พึ่งเสมา. (2564). พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาพยาบาลต่อการเรียนแบบออนไลน์ช่วงสถานการณ์โควิด-19. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 14(1), 33-47.
รังสฤษฎ์ แวดือราแม, ระวิ แก้วสุกใส, พรทิวา คงคุณ, อัชฌา สุวรรณกาญจน์, และกรรณภา ไชยประสิทธิ์.(2564). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ และการรับรู้กับพฤติกรรมการดำเนินชีวิตแบบวิถีใหม่ (New Normal) เพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและสาธารณสุขภาคใต้, 8(2), 80-89.
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. (2564). รายงานผลการทบทวนผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมจากการระบาดของโรคโควิด-19ในระดับโลกและในประเทศไทย. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1177420210915075055.pdf
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. (2565). สถานการณ์ covid 19 จังหวัดนครราชสีมา. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/photo.php?fbid=587002833216704&set=pb.100057209779498.-2207520000.&type=3
Albaqawi, H. M., Alquwez, N., Balay-Odao, E., Bajet, J. B., Alabdulaziz, H., Alsolami, F., Tumala, R.B., Alsharari, A.F. Tork, H.M. M., Felemban, E.M., Cruz, J. P. (2020). Nursing Students' Perceptions, Knowledge, and Preventive Behaviors Toward COVID-19: A Multi-University Study. Frontiers in public health, 8(1). 573390. https://doi.org/10.3389/fpubh.2020.573390
Alshdefat, A., Jansirani Natarajan, M. A. J., Baker, R. A., & Qutishat, M. G. (2021). Knowledge, Attitude and Practice of Nursing Students towards COVID-19 Pandemic in Oman. International Journal of Nursing Education, 13(1), 23.
Aslan, H., & Pekince, H. (2021). Nursing students' views on the COVID‐19 pandemic and their percieved stress levels. Perspectives in psychiatric care, 57(2), 695-701. https://doi.org/10.1111/ppc.12597
Becker, M.H. (1974). The health belief model and preventive health behavior. Health Education Monographs, 2(4), 354-385. https://doi.org/10.1177/109019817400200407
Best, J. W. (1977). Research in Education. New Jersey: Prentice Hall Inc.
Bloom, B. S. (1986). What We Are Learning about Teaching and Learning: A Summary of Recent Research. Principal, 66, 6-10.
Ilankoon, I. M. P. S., Kisokanth, G., & Warnakulasuriya, S. S. P. (2020). COVID-19: Impact on undergraduate nursing education in Sri Lanka. Journal of Public Health Research, 9(1), 1-3. https://doi.org/10.4081/jphr.2020.1916
Joshi, K. P., Madhura, L., & Jamadar, D. (2020). Knowledge and awareness among nursing students regarding the COVID-19: A cross sectional study. International Journal of Community Medicine and Public Health, 7(7), 2518-2521. https://doi.org/10.18203/2394-6040.ijcmph20202536
Lovric, R., Farcic, N., Miksic, S., & Vcev, A. (2020). Studying during the COVID-19 pandemic: A qualitative inductive content analysis of nursing students’ perceptions and experiences. Education Sciences, 10(7), 188. https://doi.org/10.3390/educsci10070188
Shabadi, N., Hombaiah, C., Thomas, J., Mathews, N., Khanum, R., Shwethashree, M., & Murthy, M. (2020). Knowledge, attitude, and practices toward COVID-19 among the college students in a southern city of Karnataka. International Journal of Health & Allied Sciences, 9(4), 343-347. https://doi.org/10.4103/ijhas.IJHAS_58_20
Tsai, F. J., Hu, Y. J., Chen, C. Y., Tseng, C. C., Yeh, G. L., & Cheng, J. F. (2021). Using the health belief model to explore nursing students’ relationships between COVID-19 knowledge, health beliefs, cues to action, self-efficacy, and behavioral intention: A cross-sectional. survey study. Medicine, 100(11). e25210. https://doi.org/10.1097/MD.0000000000025210
White, M. S., Omer, M., & Mohammad, G. N. (2020). Knowledge, attitude and practice on prevention of airborne and droplet infections during the outbreak of corona virus among the College Students in University of Bisha, Saudi Arabia. International Journal of Contemporary Research and Review, 11(4), 20773-20776.
Xiong, J., Lipsitz, O., Nasri, F., Lui, L. M., Gill, H., Phan, L., Chen-Li, D., Iacobucci, M., Ho, R., Majeed, A., & McIntyre, R. S. (2020). Impact of COVID-19 pandemic on mental health in the general population: A systematic review. Journal of Affective Disorders. 277, 55-64. https://doi.org/10.1016/j.jad.2020.08.001
Yuan, T., Liu, H., Li, X. D., & Liu, H. R. (2020). Factors affecting infection control behaviors to prevent COVID-19: An online survey of nursing students in Anhui, China in March and April 2020. Medical Science Monitor: International Medical Journal of Experimental and Clinical Research, 26, e925877. https://doi.org/10.12659%2FMSM.925877
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว