การดูแลแผลกดทับในผู้ป่วยวิกฤต: บทบาทพยาบาลวิกฤต

ผู้แต่ง

  • ศรัญญา จุฬารี สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • จันทร์ทิรา เจียรณัย สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • ศิริพร เพ็ชรโรจน์ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • ดวงเนตร ชาติพิมาย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

คำสำคัญ:

แผลกดทับ, ผู้ป่วยวิกฤต, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

ผู้ป่วยวิกฤตหรือผู้ป่วยหนัก คือ ผู้ป่วยที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต มีความผิดปกติของอวัยวะที่สำคัญ จำเป็นต้องได้รับการรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิด มักมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายหลายระบบโดยเฉพาะการไหลเวียนล้มเหลว มีภาวะพร่องออกซิเจน ขาดสารอาหาร และเคลื่อนไหวร่างกายด้วยตนเองไม่ได้ ซึ่งทำให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาล (Hospital-acquired pressure injuries [HAPI]) บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความหมายและความสำคัญของ HAPI  สถานการณ์ความชุกของ HAPI  พยาธิสรีรวิทยาของแผลกดทับ ปัจจัยเสี่ยงของ HAPI ในผู้ป่วยวิกฤต และบทบาทของพยาบาลในการดูแลเพื่อป้องกัน HAPI รวมทั้งการดูแลเมื่อเกิด HAPI  ในผู้ป่วยวิกฤตโดยทบทวนจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ดี นำไปสู่การสร้างแนวทางการพยาบาลเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการป้องกันและจัดการสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่มีแผลกดทับอันจะช่วยลดระยะเวลาการนอนโรงพยาบาล ค่าใช้จ่ายในการรักษา รวมทั้งเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวิกฤตให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

References

คู่ขวัญ มาลีวงษ์. (2564). การพัฒนาและประเมินผลของการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลเพื่อการป้องกันการเกิดแผลกดทับสำหรับผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลวชิรพยาบาล. วชิรสารการพยาบาล, 23(1), 15-30.

จันทร์ทิรา เจียรณัย, ไตรภพ ปิดตานัง, และนุชพร ดุมใหม่. (2565). บทบาทพยาบาลในการดูแลโภชนาการสำหรับผู้ป่วยวิกฤต. ราชาวดีสาร, 12(1), 164-181.

นพรัตน์ เรืองศรี. (2562). ผลการใช้ชุดของวิธีปฏิบัติ SSIE-Tq3h เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 13(4), 121-134.

ผกามาศ พีธรากร. (2564). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผลกดทับโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์: บทบาทพยาบาล. หัวหินเวชสาร, 1(1), 33-48.

มณีนุช สุทธสนธิ์, และกาญจนา ปัญญาธร. (2562). ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการป้องกันการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยอาการหนัก โรงพยาบาลค่ายประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 37(4), 80-89.

ยุวดี เกื้อกูลวงศ์ชัย. (2564). การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ หอผู้ป่วยวิกฤต อายุรกรรมโรงพยาบาลสมุทรปราการ. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 8(1), 1-11.

วรรณิภา สายหล่า. (2559). แผลกดทับ. ใน จุฬาพร ประสังสิต, กาญจนา รุ่งแสงจันทร์, และยุวรัตน์ ม่วงเงิน (บ.ก.), การดูแลบาดแผล: หลักฐานเชิงประจักษ์และประสบการณ์จากผู้เชี่ยวชาญ (หน้า 153-167). บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด.

วรพงศ์ เรืองสงค์. (2562). ยาบีบหลอดเลือดและยากระตุ้นหัวใจ. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล, 29(2), 167-184.

วไลพร ปักเคระกา, นิสากร วิบูลชัย, วุฒิชัย สมกิจ, สุชัญญ์ญา เดชศิริ, จีรพร อินนอก, และสิรินารถ ประพาศพงษ์. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยวิกฤตทางศัลยกรรมระบบประสาท. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 19(2), 140-153.

ศรัญญา จุฬารี, จันทร์ทิรา เจียรณัย, รวีวรรณ พงศ์พุฒิพัชร, และจินตนา ตาปิน. (2563). การพยาบาลผู้ป่วยที่รักษาบาดแผลด้วยระบบดูดสุญญากาศ. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 26(1), 202-215.

สุชาดา นิลบรรพต, อัมพรพรรณ ธีราบุตร, และปณิตา ลิมปะวัฒนะ. (2562). ปัจจัยทำนายการเกิดแผลกดทับในผู้วิกฤต. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 4(33), 1-10.

Alderden, J., Rondinelli, J., Pepper, G., Cummins, M., & Whitney, J. (2017). Risk factors for pressure injuries among critical care patients: A systematic review. International Journal of Nursing Studies, 71, 97-114. https://doi.org/10.1016/j.ijnurstu.2017.03.012

Berlowitz, D. (2022). Epidemiology, pathogenesis, and risk assessment of pressure-induced skin and soft tissue injury. Retrieved from https://www.uptodate.com/contents/epidemiology-pathogenesis-and-risk-assessment-of-pressure-induced-skin-and-soft-tissue-injury#

Chaboyer, W. P., Thalib, L., Harbeck, E. L., Coyer, F. M., Blot, S., Bull, C. F., Nogueira, P. C., & Lin, F. F. (2018). Incidence and prevalence of pressure injuries in adult intensive care patients: A systematic review and meta-analysis. Critical Care Medicine, 46(11), e1074–e1081. https://doi.org/10.1097/CCM.0000000000003366

Cox, J., Edsberg, L.E., Koloms, K., VanGilder, C.A. (2022). Pressure injuries in critical care patients in US hospitals: Results of the international pressure ulcer prevalence survey. Journal of Wound, Ostomy and Continence Nursing, 49(1), 21-28. https://doi.org/10.1097/WON.0000000000000834

Coyer, F., Miles, S., Gosley, S., Fulbrook, P., Sketcher-Baker, K., Cook, J. L., & Whitmore, J. (2017). Pressure injury prevalence in intensive care versus non-intensive care patients: A state-wide comparison. Australian Critical Care, 30(5), 244-250. https://doi.org/10.1016/j.aucc.2016.12.003

European pressure ulcer advisory panel, National pressure injury advisory panel & Pan pacific pressure injury alliance [EPUAP/NPIAP/PPPIA]. (2019). Prevention and treatment of pressure ulcer/injuries: Clinical practice guideline (การป้องกันและรักษาแผลกดทับ: แนวปฏิบัติอ้างอิงฉบับย่อ). (ชมรมพยาบาลแผลออสโตมีและการควบคุมการขับถ่าย, ผู้แปล; พิมพ์ครั้งที่ 3). https://thaietnurse.com/index.php/news/press-release/71-20210420

Ippolito, M., Cortegiani, A., Biancofiore, G. Caiffa, S., Corcione, A., Giusti, G.D., Lucchini, A., Pelosi, P., Tomasoni, G., & Giarratano, A. (2022). The prevention of pressure injuries in the positioning and mobilization of patients in the ICU: A good clinical practice document by the Italian Society of Anesthesia, Analgesia, Resuscitation and Intensive Care (SIAARTI). Journal of Anesthesia, Analgesia and Critical Care, 2(7), 1-13. https://doi.org/10.1186/s44158-022-00035-w

Jacq, G., Valera, S., Muller, G., Decormeille, G., Youssoufa, A., Poiroux, L., Allaert, F., Barrois, B., Rigaudier, F., Ferreira, P., Huard, D., Heming, N., Aissaoui, N., Barbar, S., Boissier, F., Grimaldi, D., Hraiech, S., Lascarrou, J.B., Piton, G., Michel, P. (2021). Prevalence of pressure injuries among critically ill patients and factors associated with their occurrence in the intensive care unit: The PRESSURE study. Australian Critical Care, 34(5), 411–418. https://doi.org/10.1016/j.aucc.2020.12.001

Kandi, L. A., Rangel, I. C., Movtchan, N. V., Van Spronsen, N. R., & Kruger, E. A. (2022). Comprehensive management of pressure injury: A review. Physical Medicine and Rehabilitation Clinics of North America, 33(4), 773–787. https://doi.org/10.1016/j.pmr.2022.06.002

Kayambankadzanja, R. K., Schell, C. O., Wärnberg, M. G., Tamras, T., Mollazadegan, H., Holmberg, M., Alvesson, H. M., & Baker, T. (2022). Towards definitions of critical illness and critical care using concept analysis. British Medical Journal Open, 12(9), e060972. http://dx.doi.org/10.1136/bmjopen-2022-060972

Labeau, S. O., Afonso, E., Benbenishty, J., Blackwood, B., Boulanger, C., Brett, S. J., Calvino-Gunther, S., Chaboyer, W., Coyer, F., Deschepper, M., François, G., Honore, P. M., Jankovic, R., Khanna, A. K., Llaurado-Serra, M., Lin, F., Rose, L., Rubulotta, F., Saager, L., ... & DecubICUs Study Team. (2021). Correction to: Prevalence, associated factors and outcomes of pressure injuries in adult intensive care unit patients: the DecubICUs study. Intensive Care Medicine, 47(4), 503-520. https://doi.org/10.1007/s00134-020-06234-9

MCN Healthcare. (2022). Changing Terminology: “Pressure Ulcer” Now to be referred to as “Pressure Injury” (Image). https://www.mcnhealthcare.com/changing-terminology-pressure-ulcer-now-to-be-referred-to-as-pressure-injury

Nieto-García, L., Carpio-Pérez, A., Moreiro-Barroso, M. T., & Alonso-Sardón, M. (2021). Can an early mobilisation programme prevent hospital-acquired pressure injures in an intensive care unit?: A systematic review and meta-analysis. International Wound Journal, 18(2), 209–220. https://doi.org/10.1111/iwj.13516

Norton, L., Parslow, N., Johnston, D., Ho, C., Afalavi, A., Mark, M., O’Sullivan-Drombolis, D., & Moffatt, S. (2021). Best practice recommendations for the prevention and management of pressure injuries. In: Foundations of Best Practice for Skin and Wound Management. A supplement of Wound Care Canada. Retrieved from: https://www.woundscanada.ca/docman/public/health-care-professional/bpr-workshop/172-bpr-prevention-and-management-of-pressure-injuries-2/file

Nowicki, J. L., Mullany, D., Spooner, A., Nowicki, T. A., Mckay, P. M., Corley, A., Fulbrook P., & Fraser, J. F. (2018). Are pressure injuries related to skin failure in critically ill patients?. Australian Critical Care, 31(5), 257-263. https://doi.org/10.1016/j.aucc.2017.07.004

Padula, W. V., & Delarmente, B. A. (2019). The national cost of hospital-acquired pressure injuries in the United States. International Wound Journal, 16(3), 634–640. https://doi.org/10.1111/iwj.13071

Rubulotta, F., Brett, S., Boulanger, C., Blackwood, B., Deschepper, M., Labeau, S. O., & Blot, S. (2022). Prevalence of skin pressure injury in critical care patients in the UK: results of a single-day point prevalence evaluation in adult critically ill patients. British Medical Journal Open, 12(11), e057010. https://doi.org/10.1136/bmjopen-2021-057010

Şahin, E., Rizalar, S., & Özker, E. (2022). Effectiveness of negative-pressure wound therapy compared to wet-dry dressing in pressure injuries. Journal of Tissue Viability, 31(1), 164–172. https://doi.org/10.1016/j.jtv.2021.12.007

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-29