การพยาบาลเพื่อป้องกันปัญหาโภชนาการในผู้สูงอายุ
คำสำคัญ:
การพยาบาล, โภชนาการ, ผู้สูงอายุบทคัดย่อ
การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุทางโภชนาการนั้นเป็นสิ่งสำคัญ โดยเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคมและเศรษฐกิจ ผู้สูงอายุที่มีภาวะโภชนาการดี ร่างกายก็จะสามารถใช้ประโยชน์จากสารอาหารที่รับประทานในการสร้างเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้มีสุขภาพดี หากผู้สูงอายุมีภาวะโภชนาการไม่ดีหรือภาวะทุพโภชนาการจะทำให้ร่างกายขาดสารอาหารหรือได้รับสารอาหารมากเกินความต้องการของร่างกายทำให้เกิดภาวะโภชนาการเกิน ส่งผลให้เกิดความไม่สมดุลและส่งผลเสียต่อร่างกายและจิตใจ ซึ่งปัญหาด้านโภชนาการนี้เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความสำคัญ ความหมายของภาวะโภชนาการการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหารที่ส่งผลให้เกิดปัญหาทางโภชนาการ สาเหตุ ผลกระทบจากภาวะทุพโภชนาการ การประเมินภาวะโภชนาการ และการพยาบาลเพื่อป้องกันปัญหาโภชนาการในผู้สูงอายุ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับพยาบาลในการนำไปประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุและให้การพยาบาลเพื่อป้องกันปัญหาโภชนาการในผู้สูงอายุเป็นรายบุคคลอย่างครอบคลุม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโภชนาการที่ดีจะเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้สุขภาพแข็งแรง มีอายุยืนยาว และมีคุณภาพชีวิตที่ดีอีกด้วย
References
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2566, 10 เมษายน). สถิติผู้สูงอายุ. https://www.dop.go.th/th/know/side/1/1/1962
กระทรวงสาธารณสุข. (ม.ป.ป.). คู่มือการคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ พ.ศ. 2564. http://www.tako.moph.go.th/takmoph2016/file_download/file_20210129131952.pdf
กุลพงษ์ ชัยนาม. (2563). การเปลี่ยนแปลงทางประสาทสัมผัสและการรับประทานอาหารในผู้สูงอายุ. วารสารโภชนบำบัด, 28(1), 64-74.
คณะกรรมการและคณะทำงานปรับปรุงข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563. ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ.วี. โปรเกรสซีฟ.
จักรินทร์ ปริมานนท์, ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์, และสมเกียรติยศ วรเดช. (2561). ภาวะโภชนาการและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อภาวะโภชนาการในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี: การทบทวนวรรณกรรม. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 5(1), 329-342.
ชวิศา แก้วอนันต์. (2561). โภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 12(2), 112-119.
ฐิตินันท์ ดวงจินา, และศิริรัตน์ ปานอุทัย. (2563). การพยาบาลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ. พยาบาลสาร, 47(3), 469-480.
ดรุณีวัลย์ วโรดมวิจิตร. (2561). การคัดกรองภาวะโภชนาการและการจัดการในผู้สูงอายุ. ใน วีรศักดิ์ เมืองไพศาล. พฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุสำหรับการดูแลผู้ป่วยสูงอายุขั้นต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 1, หน้า 255-267). ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาคพิมพ์.
ธนวดี ปรีเปรม. (2564, 30 เมษายน). การประเมินและจัดการภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุในร้านยา. https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=1004
นลินี ยิ่งชาญกุล. (2565). การดูแลโภชนาการเบื้องต้นในผู้สูงอายุแบบองค์รวม (พิมพ์ครั้งที่ 2). ห้างหุ้นส่วนจำกัดเชียงใหม่พิมพ์นิยม.
ปณิตา ลิมปะวัฒนา. (2561). กลุ่มอาการสูงอายุและประเด็นทางสุขภาพที่น่าสนใจ (พิมพ์ครั้งที่ 2). ห้างหุ้นส่วนจำกัดโรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
ปณิธาน สนพะเนา. (2563). วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา, 5(1), 4-12.
พัชร โชติชัยสถิตย์, พรทิพย์ มาลาธรรม, นุชนาฏ สุทธิ, และสุมลชาติ ดวงบุบผา. (2562). ภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 20. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พิริยฉัตร คณานุรักษ์, กัลยา สร้อยสิงห์, เกษมสุข เขียวทอง, ธนวันต์ พัฒนสิงห์, จีน่า ซัมเมอร์ส, และจิราพร ธรรมสุขเสรี. (2563). พฤติกรรมการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการของผู้สูงอายุในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(3), 548-563.
พุทธิพร พิธานธนานุกูล, และภิรมย์ รชตะนันท์. (2562). ภาวะโภชนาการและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะ โภชนาการของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร, 22(1), 1-13.
มโนลี ศรีเปารยะ เพ็ญพงษ์. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารส่งผลต่อสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดสุ ราษฎร์ธานี. วารสารศรีวนาลัยวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(2), 90-103.
วรางคณา บุตรศรี, และนันทรียา โลหะไพบูลย์กุล. (2560). พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่มีอายุยืน ตำบล ปทุมอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์, 1(2), 86-98.
สุนทรี ภานุทัต, จำลอง ชูโต, เฉลิมศรี นันทวรรณ, อำไพวรรณ พุ่มศรีสวัสดิ์, และทัศนีย์ พฤกษาชีวะ. (2560). การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพโภชนาการ. journal of Ratchathani innovative Health Sciences, 1(1), 1-15.
Chuansangeam, M., Wuthikraikun, C., Supapueng, O., & Muangpaisan, W. (2022). Prevalence and risk for malnutrition in older Thai people: A systematic review and meta-analysis. Asia Pacific Journal of Clinical Nutrition, 31(1), 128-141. https://doi.org/10.6133/apjcn.202203_31(1).0014
Giacomello, E., & Toniolo, L. (2022). Nutrition, diet and healthy aging. Nutrients, 14(190), 1-3.
Leitao, C., Mignano, A., Estrela, M., Fardilha, M., Figueiras, A., Roque, F., & Herdeiro, M. T. (2022). The effect of nutrition on aging—A systematic review focusing on aging-related biomarkers. Nutrients, 14(3), 554.
Nigam, Y., & Knight, J. (2017). Anatomy and physiology of ageing 3: the digestive system. Nursing Times, 113(4), 54-57.
Roberts, S. B., Silver, R. E., Das, S. K., Fielding, R. A., Gilhooly, C. H., Jacques, P. F., Kelly, J. M., Mason, J. B., McKeown, N. M., Reardon, M. A., Rowan, S., Saltzman, E., Shukitt-Hale, B., Smith, C. E., Taylor, A. A., Wu, D., Zhang, F. F., Panetta, K., & Booth, S. (2021). Healthy aging—nutrition matters: start early and screen often. Advances in Nutrition, 12(4), 1438-1448.
Volkert, D., Beck, A. M., Cederholm, T., Cruz-Jentoft, A., Hooper, L., Kiesswetter, E., Maggio, M., Raynaud-Simon, A., Sieber, C. C., Sobotka, L., Van Asselt, D., Wirth, R., & Bischoff, S. C. (2022). ESPEN practical guideline: Clinical nutrition and hydration in geriatrics. Clinical Nutrition, 41(4), 958-989. https://doi.org/10.1016/j.clnu.2022.01.024
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล ซึ่งดำเนินการโดยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล หรือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว