การศึกษาเปรียบเทียบผลการตั้งครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่
Main Article Content
บทคัดย่อ
หลักการและเหตุผล: การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของการคลอด และ ทารก แต่หลายๆ การศึกษายังมีข้อขัดแย้งในบางประเด็น
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลการตั้งครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นอายุ (10-19 ปี) และ หญิงตั้งครรภ์วัยผู้ใหญ่ (อายุ 20-29 ปี)
รูปแบบการศึกษา: การศึกษาแบบย้อนหลังเซิงพรรณนา
สถานศึกษา: ห้องคลอดรงพยาบาลสตึก
กลุ่มตัวอย่าง: ประกอบด้วยหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น 158 คนและหญิงตั้งครรภ์วัยผู้ใหญ่ 175 คนที่มา คลอดในโรงพยาบาลสตึก ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2557
ผลการศึกษา: อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นคิดเป็น ร้อยละ 24.3 พบภาวะซีด มารดาน้ำหนักขึ้นน้อย ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นมากกว่าวัยผู้ใหญ่ แต่ภาวะผิดสัดส่วนของเชิงกรานน้อยกว่า วัยผู้ใหญ่ ขณะที่อัตราการผ่าตัดคลอดและภาวะแทรกซ้อนในทารกไม่แตกต่างกัน
สรุป: การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์สูงขึ้น
Article Details
References
2. สุชีลา จันทร์วิทยานุชิต. The Challenging treatment in Osteoporosis Patient. การประชุมวิชาการสมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2554.19-21 มีนาคม พ.ศ. 2554. ณ โรงแรมแกรนด์ไฮแอทรีเจนซี่ หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. กรุงเทพฯ : สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย; 2554.
3. Davidson CW, Merrilees MJ, Wilkinson TJ. Hip fracture mortality and morbidity-can we do better? NZ Med J 2001; 114:329-32.
4. Myers AH, Robinson EG, Van Natta ML. Hip fracture among the elderly: factors associated with in-hospital mortality. Am J Epidemiol 1991;134:1128-37.
5. Lyritis GP. Epidemiology of hip fracture: the MEDOS study. Mediterranean osteoporosis study. Osteoporos Int 1995; 6 (suupl 3):11-5.
6. Cooper C, Campion G,Melton LJ III. Hip fractures in the elderly: a world-wide projection. Osteoporos Int 1992; 2: 285-9.
7. Gullberg B, Johnell O, Kanis JA. World-Wide projections for hip fracture. Osteoporos Int 1997;7:407-13.
8. Suriyawongpaisal P, Pimjai S, Wichien L. A multicenter study on hip fractures in Thailand. J Med Assoc Thai 1994; 77:488-95.
9. Khunkitti N, Aswaboonyalert N, Songpara- nasilp T, Pipithkul S. Fracture threshold in the Thai elderly and bone mineral density evaluation. J Bone Miner Metab 2000;18:96-100.
10. Rojanasthien S, Luevitoonvechkij S. Epidemiology of hip fracture in Chiang Mai. J Med Assoc Thai 2005;88(Suppl5):S105-9.
11. Chariyalertsak S, Suriyawongpaisal P, Thakkinstain A. Mortality after hip fractures in Thailand. International Orthopaedics 2001;25:294-7.
12. Jipunkul S, Yuktanandana P. Consequences of hip fracture among Thai women aged 50 years and over: A prospective study. J Med Assoc Thai 2000; 83:1447-51.
13. Jongjit J, Komsopapong L, Songjakkaew P, Kongsakon R. Health-related quality of life after hip fracture in the elderly community-dwelling. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2003;34:670-4.
14. Keene GS, Parker MJ, Pryor GA. Mortality and morbidity after hip fractures. BMJ 1993;307:1248-50.
15. Raaymaker EL. The Non-operative Treatment of impacted femoral neck fractures. Injury 2002;33:C8-14.
16. Center JR, Nguyen TV, Schneider D, Sambrook PN, Eisman JA. Mortality after all major types of osteoporotic fracture in men and women: an observational study. Lancet 1999 Mar;353:878-82.
17. Holmberg S, Conradi P, Kalen R, Thorngren KG. Mortality after cervical hip fracture: 3002 patients followed for 6 years. Acta Orthopaedica 1986;57:8-11.