ผลลัพธ์หลังจากการเกิดกระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความสำคัญ: กระดูกสะโพกหักเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ผู้ป่วย การเจ็บป่วยและเสียชีวิตเพิ่มขึ้น
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความซุกของการเกิดกระดูกสะโพกหัก ลักษณะของประซากร วิธีการรักษา อัตราการเสียชีวิตและความสามารถในการเคลื่อนไหวด้วยตนเองภายใน 1 ปี หลังกระดูก สะโพกหักและติดตามไปเป็นเวลา 5 ปี
รูปแบบการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาย้อนหลัง
ประชากรที่ศึกษา: ผู้สูงอายุที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีกระดูกสะโพกหัก (Femoral neck fracture, Intertro-chanter fracture of femur) จากอุบัติเหตุไม่รุนแรงระหว่าง ตุลาคม พ.ศ. 2548 ถึง กันยายน พ.ศ. 2553 (ปีงบประมาณ)
วิธีการศึกษา: เก็บรวบรวมข้อมูลจากแฟ้มประวัติผู้ป่วย และข้อมูลจากสำนักงานทะเบียนราษฎร์ สถิติที่ใช้คือ ค่าความถี่, ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย
ผลการศึกษา: มีผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลศรีสะเกษแบบผู้ป่วยในเนื่องจากกระดูกสะโพกหักในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ถึง พ.ศ. 2553 จำนวน 728 ราย คิดเป็นอัตราส่วน10.4 ต่อประชากร 100,000 คน เพศขาย 203 คน เพศหญิง 525 คน อายุเฉลี่ย 69.8ปีได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดจำนวน 371 คน รักษาโดยไม่ผ่าตัดจำนวน 357 คน อัตราเสียชีวิตหลังจากกระดูกสะโพกหักภายใน 1 ปี 31.3% พบอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าในกลุ่มผู้ป่วยที่รักษาโดยการไม่ผ่าตัด โดยเฉพาะในกลุ่มที่มีโรคร่วม (ไตวายเรื้อรัง, โรคหัวใจ, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, ซีด, สมองเลื่อม) ความสามารถในการเคลื่อนไหวด้วย ตนเองหรือต้องใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงในกลุ่มผู้ป่วยที่รักษาโดยการไม่ผ่าตัด 37.6%ในกลุ่ม ผู้ป่วยที่รักษาโดยการผ่าตัด 72.0%
สรุปผลการศึกษา: การเกิดกระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุทำให้มี อัตราการเจ็บป่วยและเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ความ สามารถในการช่วยเหลือตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง
Article Details
References
2. Ministry of Public Health Bureau of Health Promotion. Maternal and child health status of Thailand in 2002. Nonthaburi : Ministry of Public Health; 2003.
3. Ministry of Social Development and human security. สถานการณ์การตังครรภ์ในวัยรุ่นปี พ.ศ. 2553. [internet] 2554 [cited 2012 sep 9]. Available from: https://www.uthaithani.m-society.go.th/Downlonddoc- ument/teenage_pregnant%2053.doc
4. Isaranurug S, Tejawanichpong W. Sexual behaviour in middle and late childhood in Thailand-a documentation review from 1991-1999. Bangkok : Charoen-Deekanpim; 2001.
5. Watcharaseranee N, Pinchantra P, Piyaman S. The incidence and complications of teenage pregnancy at Chonburi hospital. J Med Assoc Thai 2006;89(Suppl):118-23.
6. Isaranurug S, Mo-suwan L, Choprapawon C. Differences in Socio-Economic status,- service utilization, and pregnancy out¬comes between teenage and adult mother. J Med Assoc Thai 2006;89:14551.
7. Suebnukarn K, Phupong V. Pregnancy outcomes in. J Med Assoc Thai 2005;88: 1758-62.
8. Santos GH, Martin Mda G, Sousa Mda S, Batalha sde J. Impact of maternal age on perinatal outcomes and mode of deliver. Rev Bras Ginecol Obstet 2009;31:326-34.
9. Martins Mda G, Santos GH, Sousa Mda S, Costa JE, Simoes Vm. Association of pregnancy in adolescencand prematurity. Rev Bras Ginecol Obstet 2011;33:354-60.
10. Smith GCS, Pell J. Teenage pregnancy and risk of adverse perinatal outcomes associated with first and second birth; population based retrospective cohort study. BMJ 2001;323:476-9.
11. Yadav S, Choudhary D, Narayan KC, Kumar RN. Adverse reproductive outcomes associated with teenage pregnancy. Mcgill J Med 2008;11:141-4.
12. Chen X, Wen S, Flemming N, Demissie K, Rhoads G, Walker M. Teenage pregnancy and adverse birth outcomes. Int J Epidemiol 2007;36:368-73.
13. Satin AJ, Leveno KJ, Sherman ML, Reedy NJ, LoweTW, Mcintire DD. Maternal youth and pregnancy outcomes:middle school versus high school age groups compared with women beyond the teen years.Am J Obstet Gynecol 1994;171:184-7.
14. Jolly MC, Serbire N, Harris J, Robinson S, Regan L. Obstetric risk of pregnancy in women less than 18 years old. Obstet Gynecol 2000;96;962-6.
15. Kovavisarach E, Chairaj ร, Tosang K, Asavapiriyanont S, Chotigeat บ. Outcomes of teenage pregnancy in Rajavithi hospital. J Med Assoc Thai 2010;93:1-7.
16. Suwannachat B, Ualalitchoowong P. Maternal age and pregnancy outcomes. Srinagarind Med J 20007;22:401-7.
17. Hugh M, Dierker L, Miluzzi C. Low birth weight, failure to thrive in pregnancy, and adverse pregnancy outcomes. Am J Obstet Gynecol 2003;1726-30.