ประสิทธิผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิกในฝัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความเป็นมา: จำนวนผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลศรีสะเกษมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ทำให้เกิดความแออัดในการมารับบริการ ดังนั้นโรงพยาบาลศรีสะเกษจึงได้จัดทำโครงการคลินิกในฝืน เปีดให้คลินิกเอกซนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสุขภาพของผู้ป่วย โดยจ่ายค่าธรรมเนียม 100 บาท/ครั้ง ให้แพทย์ที่คลินิก เพื่อลดปริมาณผู้ป่วยที่มารับบริการที่โรงพยาบาล
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลในการดูแลผูป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในคลินิกในฝืน ความพึงพอใจในบริการที่คลนิกในฝืนและร้านยาขุมซน และปัจจยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในบริการที่คลินิกในฝืน ร้านยาขุมซนและผลทางห้องปฏิบัติการ
รูปแบบการศึกษา: การวิจัยเซิงพรรณนา
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 300 ราย เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใซ้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใข้สถิติเซิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบไคสแควร์ (Chi-square) ผลการศึกษา:กลุ่มตัวอย่างป่วยเป็นโรคเบาหวานร้อยละ 33.0 ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 43.7 และเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงร้อยละ 23.3 ประสิทธิผล ในการดูแลซองกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่าสามารถ ควบคุมระดับDTX, HbAlC, Cholesterol, HDL, LDL triglyceride ควบคุมได้ ร้อยละ 72.9, 38.5 , 85.3, 79.4, 90.1 และ 77.9 ตามลำตบ ส่วนความพึงพอใจ โดยรวมต่อคลินิกในฝืนระดับมาก (ร้อยละ 74.0) ความพึงพอใจโดยรวมต่อร้านยา ขุมซนระดับมาก (ร้อยละ 72.0) ปัจจัยพื้นฐานที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ ตอบริการที่ได้รับจากคลินิกในฝืนพบว่า รายได้ สิทธิการรักษา ระยะเวลาการสมัคร เข้าโครงการฯ ความสะดวกในการไปเจาะเลือดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) และปัจจัยพื้นฐานกับความพึงพอใจต่อบริการทีได้รับจากร้านยา ขุมซนพบว่า รายได้ ความสะดวกในการไปเจาะเลือด จำนวนครั้งทีมารับบริการ มี๋ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัณทางสถิติ (p<0.05) ส่วนปัจจัยพื้นฐานกับผล ทางห้องปฏิบัติการ พบว่า จำนวนครังที่มารับบริการที่คลินิกในฝืนกับผล DTX และ HbAlC ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) อายุกับผล Cholesterol ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เพศกับผล HDL ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และ เพศ จำนวนครั้งที่มารับ บริการที่คลินิกในฝืนกับผล แอแความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
สรุป: คลินิกในฝืนเป็นโครงการที่ดี เป็นซ่องทางในการรับบริการหนึ่งซองผู้ป่วย และ สามารถควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้
คำสำคัญ: ประสิทธิผล, คลินิกในฝืน, เบาหวาน ความดันโลหตสูง
Article Details
References
2. โรงพยาบาลศรีสะเกษ. รายงานสถานการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตของโรงพยาบาลศรีสะเกษ. เอกสารประกอบการประชุมสรุปผลการดำเนินงาน ปี 2555.วันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 ; ณ ห้องประชุมญาณวิเศษ. ศรีสะเกษ : โรงพยาบาลศรีสะเกษ, 2556.
3. รามรังสินธ์และคณะ. การประเมินผลการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2555. นนทบุรี : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; 2555.
4. ปกาสิต โอวาทกานนท์. ผลการดูแลรักษาเบาหวานและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการไม่สามารถ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลทรายมูล. ศรีนครินทร์เวชสาร 2554 ; 26:4:339-49.
5. Buranakitjaroen P, Phoojaroenchanachai M, Saravich S. Microalbuminuria in Thai essential hypertensive patients. J Int Med Res. 2007;35:6:836-47.
6. พีระ บูรณะกิจเจริญ. โรคความดันโลหิตสูง Essential Hypertension. กรุงเทพฯ : หมอชาวบ้าน ; 2553.
7. จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ. รายงานการสำรวจ สถานะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยด้วยการสอบถามและการตรวจร่างกายทั่วประเทศ ครั้งที่ 1 พ.ศ.2534-2535. นนทบุรี : สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทย ;2539 : หน้า101-4.
8. เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขา, พรพันธุ์ บุณยรัตนพันธ์. รายงานการสำรวจสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยด้วยการสอบถามและการตรวจร่างกายทั่วประเทศ ครั้งที่ 3 พ.ศ.2546-2547. นนทบุรี : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 112-9.
9. Wolf-Maier K, Cooper RS, Kramer H, Banegas JR, Giampaoli S, Joffres MR. et al. Hypertension treatment and control in five European countries, Canada, and the United States. Hypertension 2004 ;43:1:10-7.
10. สำนักโภชนาการ. การศึกษาปัจจัยด้านอาหารที่มีผลต่อภาวะไขมันสูงในเลือดในกลุ่มอาชีพผู้บริหาร และผู้ใช้แรงงาน. นนทบุรี : สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2542.
11. Fields LE 1 Burt VL, Cutler JA, Hughes J, Roccella EJ, Sorlie P. The burden of adult hypertension in theUnited States 1999 to 2000. A rising tide. Hypertension ; 2004 :44: 398-404.