กรณีศึกษา : การพยาบาลผู้ป่วยไข้เลือดออกที่มีภาวะช็อก
Main Article Content
บทคัดย่อ
ความเป็นมาของป้ญหา: โรคไข้เลือดออกที่มีภาวะช็อก ถือเป็นภาวะวิกฤตของผู้ป่วย เนื่องจากมีผลทำให้ระบบการไหลเวียนเลือดล้มเหลว การทำงานของเกล็ดเลือดผิดปกติ การแข็งตัว ของเลือดข้า เกิดเลือดออกตามอวัยวะต่างๆได้จนเป็นเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ดังนั้น การประเมินภาวะข็อกได้ตั้งแต่เริ่มต้น มีความสำคัญอย่างมาก ที่จะช่วยให้ผู้ป่วย ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ช่วยลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนและเสียชีวิตได้
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการดำเนินโรค ปัญหาสุขภาพ การรักษาพยาบาลและผลของการรักษาพยาบาลในรายกรณีนี้ น่าผลการศึกษามาใช้ประกอบเป็นองค์ความรู้ในการดูแล รักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคนี้ในรายต่อไป
กรณีศึกษาและสถานที่: คัดเสือกจากประซากรเด็กป่วย แบบเจาะจง 1ราย ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคไข้เลือดออกช็อก ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาล รัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์
วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยเซิงคุณภาพโดยศึกษาเป็นรายกรณี ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลย้อนหลังจากเอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยใน ระหว่างวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึง 3 เมษายน พ.ศ.2556
ผลการศึกษา: เด็กเพศหญิง อายุ 3 ปี 6 เดือน เข้ารับการรักษา ด้วยอาการไข้สูง มา 5 วันได้รับการวินิจฉัยเปีนเข้เลอดออก เข้ลงวันท 7 นับจากเรมเข้มภาวะซอก เดรับการ แกไขภาวะช็อก การรักษามีการให้สารนํ้าปรับซนิดและปริมาณสารนํ้าตามการ ดำเนินการซองโรค ความดันโลหิต และผลHematocrit ผู้ป่วยได้รับการรักษาจน อาการดีขึ้นและมีภาวะนํ้าเกินแทรกซ้อน ปัญหาสุขภาพคือระบบไหลเวียนโลหิต ล้มเหลว เสี่ยงต่อการสูญเสียเลือด ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการได้รับสารนํ้าและสารอาหาร ไม่เพียงพอ และเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวและการหายใจล้มเหลวได้รับการ พยาบาลอย่างใกล้ชิด เพื่อแกไขภาวะช็อก ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะช็อกและ ภาวะนํ้าเกิน
สรุป: การวางแผนการพยาบาลด้วยความรู้ความเข้าใจในลักษณะเฉพาะของโรคและติดตามสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ทำให้สามารถติดตามภาวะช็อก และแกไข ได้ถูกต้องทันท่วงที
คำสำคัญ: การพยาบาล ไข้เลือดออกช็อก
Article Details
References
2. สมบุญ เสนาะเสียง. สรุปรายงานการเฝ็าระวังโรคไข้เลือดออก. นนทบุรี : สำนักงานระบาดวิทยา; 2551
3. วิไลพร สาคิริ. สถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก. รัตนบุรี : กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและหน่วยบริการปฐมภูมิ; 2555.
4. Kittikul L, Pitakarnjanakul P, Sujirarat D, & Siripanichgon K. The difference of clinical manifestaions and laboratory findings in children and adults with dengue virus infection. Journal of Clinical Virology 2007;39:76-81.
5. กัลยา นาคเพ็ซร, สมปอง ไหว้พรหม, กรรณชนก บุญธรรมจินดา. มาตรฐานพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคไข้เลือดออก. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์วิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย; 2533.
6. ดารุณี จงอุดมการณ์. ปวดในเด็ก. การพยาบาลแบบองค์รวมโดยยึดครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. ขอนแก่น : คิริออฟเซ็ท; 2546.
7. ประการแก้ว ประพฤติถ้อย. การพยาบาลกุมารเวชคาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : โครงการ ส่งเสริมการตำรา สำนักวิชาการมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช; 2553.
8. ปราณี ทู้ไพเราะ. คู่มือยา. พิมพ์ครั้งที่ 8 . กรุงเทพๆ : เอ็น พี เพส; 2550.
9. พรทิพย์ คิริบูรณ์พิพัฒนา. การพยาบาลเด็ก เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 5. นนทบุรี : ยุทธรินทร์การพิมพ์; 2550.
10. เพ็ญจันทร์ สุวรรณแสงโมไนยพงศ์. คู่มือการตรวจผู้ป่วยนอก. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: วี.เจ.พริ้นติ๋ง; 2550
11. รุจา ภู่ไพบูลย์. แนวทางการวางแผนการพยาบาลเด็ก. กรุงเทพฯ : นิติบรรณาการ; 2541
12. Wong DL, Hess CS. Clinical manual of pediatric nursing. Philadelphia : Mosby; 2000.
13. กรรณิกา ลวณะสกล. ผลชองการให้ข้อมูลและการมีส่วนร่วมทางการพยาบาลอย่างมีแบบแผน ต่อความกลัวของเด็กวัยเรียนโรคไข้เลือดออกใน ช่วงแรกรับไว้ในโรงพยาบาล. [วิทยานิพนธ์ ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. บัณฑิตวิทยาลัย; กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2547.
14. พูนสุข บุญสงวน. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของ มารดาเด็กในจังหวัดเพขรบูรณ์. [วิทยานิพนธ์ ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต] บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล; 2545.
15. สมจิต หนุเจริญกุล. การดูแลตนเอง : ศาสตร์และศิลปะทางการพยาบาล. พิมพ์ครั้ง 6. กรุงเทพฯ : วี.เจ.พริ้นติ้ง; 2544.