ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและอัตราการเสียชีวิต ของผู้ป่วยแผลเปปติกทะลุในโรงพยาบาลสุรินทร์

Main Article Content

นาวิน ขันธรักษา

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล: ภาวะแผลฟปติกทะลุเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้เป็นอันดับลองของโรคแผลเปปติก ชื่งเป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง การผ่าตัดฉุกเฉินยังคงเป็นการรักษาหลัก ที่สำคัญ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษา morbidity และ mortality rate ของภาวะแผลเปปติกทะลุและประเมินหาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัดของผู้ป่วยแผล เปปติกทะลุ
วิธีการวิจัย: ทำการศึกษาข้อมูลแบบย้อนหลังผู้ป่วย 140 คน ที่เข้ารับการผ่าตัดรักษาภาวะแผลเปปติกทะลุในโรงพยาบาลสุรินทร์ตั้งแต่เดือนมกราคม 2552 จนถึงเดือน ธันวาคม 2552 ผู้ป่วย 131 คน เข้าได้กับ Inclusion criteria ผู้ป่วยอีก 9 คน ถูกคัดออกจากการศึกษาตาม Exclusion criteria
ผลการวิจัย : ผู้ป่วย 131 ราย จากการศึกษานี้มีค่าเฉลี่ยของอายุเท่ากับ 61.31 ปี (19-86 ปี) เป็นเพศชาย 108 คน (82.4%) เป็นเพศหญิง 23 คน (17.6%) มีผู้ป่วย 15 คน (11.5%) เกิดภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัด ในกลุ่มผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ เสียชีวิต 7 คน (5.3%) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนและอัตราการเสียชีวิต ภายหลังการผ่าตัด คือ ผู้ป่วยที่อายุมาก มีอาการเป็นมานานกว่าจะเข้ารับการรักษา ระยะเวลารอการผ่าตัดนาน การผ่าตัดที่ใช้เวลานาน โดยเฉพาะในกลุ่ม ผู้ป่วยที่มีค่า APACHE II สูง มีค่า White blood cell count และ Hematocrit ที่ตา จะเป็นตัวทำนายภาวะแทรกซ้อนและอัตราการเสียชีวิตที่เกิดขึ้นภายหลัง การผ่าตัดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001)
สรุป: ผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดรักษาภาวะแผลเปปติกทะลุในโรงพยาบาลสุรินทร์ มี morbidity rate เท่ากับ 11.5% มี mortality rate เท่ากับ 5.3% ในผู้ป่วย ที่มีอายุมาก มีค่า APACHE II สูง มีอาการเป็นมานานก่อนเข้ารับการรักษา และได้รับการรักษาล่าช้า มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนและเสียชีวิตภายหลังการ ผ่าตัดได้สูง

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

Dempsey DT. Stomach. In : Brunicardi FC, Andersen DK. Billiar TR Dunn DL, Hunter JG. Matthews JB, et al. Schwartz’s principle of Surgery. 9th ed. New York : Me Graw Hill ; 2009 : 889-948.

Lena Napolitano. Refractory Peptic Ulcer Disease. Gastroenterol Clin N Am 2009 ; 38 :267-88.

Ramakrishnan K. Peptic Ulcer Disease. Am Fam Physician 2007; 76 (7):1005-12.

Saad RJ. Scheiman JM. Diagnosis and Management of Peptic Ulcer Disease. Gastroenterology 2004; 6 (3):569-87.

Adrienne Z. Abies, I. Simon, Emily R. Melton. Update on Helicobacter pylori Treatment. Am Fam Physician 2007; 75 (3); 351-58.

Leong RW. Differences in Peptic Ulcer Between the East and the West Gastroenterol Clin N Am 2009; 38:363-79.

Svanes C. Trends in perforated peptic ulcer: incidence, etiology, treatment and prognosis. World J Surg 2000;24:277-83.

Sarosi GA, Jaiswal KR, Nwariaku FE, Asolati M, Fleming JB, Anthony T. Surgical therapy of peptic ulcer in the 21st century: more common than you think. Am J Surg 2005; 190:775-9.

Tokunaga Y, Hata K, Ryo J, Kitaoka A, Tokuka A, Ohsumi K.J Am. Density of Helicobacter pylori Infection in Patients with Peptic Ulcer Perforation. J Am Coll Surg 1998;186(6):659-63.

Gisbert JP, Legido J, Garcia-Sanz I, Pajares JM. Helicobacter pylori and perforated peptic ulcer Prevalence of the infection and role of non-steroidal anti-inflammatory drugs. Dig Liver Dis 2004; 36:116-20.

Bertleff MJ, Halm JA Bemelman WA van der Ham AC, van der Harst E, Oei HI, et al. Randomized Clinical Trial of Laparoscopic Versus Open Repair of the Perforated Peptic Ulcer: The LAMA Trial. World J Surg 2009; 33:1368-73

Torab FC, Amer M Abu-Zidan FM, Branicki FJ. et al. Perforated Peptic Ulcer: Different Ethnic, Climatic and Fasting Risk Factors for Morbidity in Al-Ain Medical District, United Arab Emirates. Asian J Surg 2009; 32 (2):95-101.

Svanes C, Lie RT, Lie SA Kvale G, Svanes K, Soreide O. Survival After Peptic Ulcer Perforation: A Time Trend Analysis. J Clin Epidemiol 1996; 49 (12):1363-71.

Thors H, Svanes C, Thjodleifsson B. Trends in peptic ulcer morbidity and mortality in Iceland. J Clin Epidemiol 2002; 55:681-86.

Arid C, Mesci A, Dincer D, et al. Analysis of risk factors predicting (affecting) mortality and morbidity of peptic deer perforations. Int Surg 2007; 92:147-54.

Chou NH, Mok KT, Chang HT, et al. Risk factors of mortality in perforated peptic ulcer. Eur J Surg 2000; 166:149-53.

Kocer B, Surmeli S, Solak C, et al. Factor affecting mortality and morbidity in patients with peptic deer perforation. J Gastroenterol Hepatol 2007; 22:565-70.

Higham J, Kang JY, Majeed A. Recent trend in admission and mortality due to peptic ulcer in England: increasing frequency of hemorrhage among older subjects. Gut 2002; 50:460-4.

Li CH, Bair MJ, Chang WH, Shih SC, Lin SC, Yeh CY. Predictive model for length of hospital stay of patients surviving surgery for perforated peptic deer. J Formos Med Assoc 2009; 108 (8):644-52.