การศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้เป็นเบาหวาน ที่มีแผลที่เท้าและผู้ถูกตัดขาระดับใต้เข่า

Main Article Content

เดือนฉาย โพธิ์งาม

บทคัดย่อ

เหตุผลของการวิจัย: การเกิดแผลที่เท้าและการถูกตัดขาระดับใต้เข่าในผู้เป็นเบาหวานเป็นปัญหาเรื้อรัง ที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวาน
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้เป็นเบาหวานที่มีแผลที่เท้าและผู้ที่ถูกตัดขา ระดับใต้เข่าและใส่ขาเทียมโดยอ้างอิงกับผู้เป็นเบาหวานที่มีความบกพร่องของ ระบบประสาทส่วนปลาย
รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง
สถานที่ทำการวิจัย: คลินิกสุขภาพเท้า คลินิกเบาหวาน และห้องตรวจกายอุปกรณ์ โรงพยาบาล ศรีสะเกษ
กลุ่มที่ทำการวิจัย: ผู้เป็นเบาหวานที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ ตั้งแต่สิงหาคม-ธันวาคม 2552 จำนวน 90 คน (มีความบกพร่องของระบบประสาทส่วนปลาย 30 คน, มีแผล ที่เท้า 30 คน และถูกตัดขาระตับใต้เข่าและใส่ขาเทียม 30 คน)
วิธีการ: สัมภาษณ์ โดยใช้แบบสอบถาม SF-36 ฉบับภาษาไทย
ผลการวิจัย: คะแนน SF-36 ของกลุ่มผู้เป็นเบาหวานที่มีแผลที่เท้า และกลุ่มผู้ที่ถูกตัดขาระดับ ใต้เข่าและใส่ขาเทียมต่ำกว่ากลุ่มที่มีความบกพร่องของระบบประสาทส่วนปลาย ทุกมิติ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่มิแผลที่เท้าและกลุ่มที่ถูกดัดขา พบว่า กลุ่มหลังมีระดับคะแนนคุณภาพชีวิตต่ำกว่ากลุ่มแรกทุกมิติ โดยมีความแตกต่าง อย่างมินัยสำคัญทางสถิติในมิติ Physical Functioning, Role-Physical และ Role-Emotional
สรุป: ระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้เป็นเบาหวานที่ถูกดัดขาระดับใต้เข่าและใส่ขาเทียม ต่ำกว่ากลุ่มที่มีแผลที่เท้าทุกมิติ โดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในมิติ Physical Functioning, Role-Physical และ Role-Emotional
คำสำคัญ: คุณภาพชีวิต, เบาหวาน, แผลที่เท้า, ตัดขาระดับใต้เข่า

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

ชูศักดิ์ คุปตานนท์. แผลในผู้ป่วยเบาหวาน. วารสารศูนย์แพทย์ศาสตร์ 2530;13(4):227-32.

จิตร สิทธิอมร, ศรีจิตรา บุนนาค, สุนิตย์ จันทรประเสริฐ. ความชุกของโรคเบาหวาน. จุฬาลงกรณ์เวชสาร 2532;33(4):279-83.

Walter DP, Gatling W, Mullee MA, et al. The distribution and severity of diabetic foot disease: A community study with comparison to a non-diabetic group. Diabetic Med 1992;9:354-8.

Kumar S, Ashe HA, Fernando DJS, et al. The prevalence of foot ulceration and its correlates in type 2 diabetic patients: A population-base study. Diabetic Med 1994;11:480-4.

Ramsey SD, Newton K, Blough D, et al. Incidence, outcome and cost of foot ulcers in patient with diabetes. Diabetes care 1999;22:382-7.

Borssen B, Bergenheim T, Lithner F. The epidemiology of foot lesions in diabetic patient aged 15-50 yrs. Diabetic Med 1990;7:438-44.

Moss SE, Klein R Klein BEK The prevalence and incidence of lower extremities amputation in a diabetic population. Arch Intern Med 1992;152:610-6.

CDC: Diabetes Surreillance. Atlalta, GA : U.S. Department of health and Human Services, 1993.

Vichayanrat A, Lueseangdang L, Pitmana -aree S, et al. Diabetic foot ulcer. Sririraj Hosp Gaz 1979;31:883-97.

McHomey CA, Ware JE, Raczek AE. The MOS 36-Item Short-Form Health Survey (SF-36®): II. psychometric and clinical tests of validity in measuring physical and mental health constructs. Med Care 1993;31(3):247-63.

Leurmamkul W, Meetam P. Development of quality of life questionnaire: SF-36 (Thai version); Thai J Pharm Sci 2000; 24(2):92-111.

Krittayaphong R Bhuripanyo K Raungrata- naampom O, et al. Reliability of Thai version SF-36 questionaire for evaluation of quality of life in cardiac patient. J Med Assoc Thai 2000;83(2):130-36.

Wagner FW Jr. A classification and treatment program for diabetic, neuropathic and dysvascular foot problem. In: AAOS Instructional Course Lecture, Vol XXVIII. St. Louis: cv Mosby, 1979.

Ware JE, Snow KK, Kosinski M, Gandek B. SF-36® Health Survey Manual and Interpretation Guide. Boston, MA: New England Medical Center, The Health Institute, 1993.

Ware JE, Kosinski M, Keller SK. SF-36® Physical and Mental Health Summary Scales: A User’s Manual. Boston MA: The Health Institute, 1994.