ประสิทธิภาพการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อ เอช ไอ วี ด้วยยาต้านไวร้ส ในโรงพยาบาลศรีประจันต์ ปี 2547
Main Article Content
บทคัดย่อ
เหตุผลของการวิจัย: เนื่องจากโรคเอดส์เป็นโรคที่พบมากทั่วโลก และเป็นโรคเรื้อรัง การรักษาด้วย ยาต้านไวรัสจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ติดเชื้อทำให้มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี ด้วยยาต้านไวรัสในผู้ใหญ่ใน โรงพยาบาลศรีประจันต์ ในปี 2547
รูปแบบการวิจัย: การศึกษาย้อนหลังเชิงพรรณนา
วิธีการศึกษา: เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบบันทึกข้อมูลของผู้ตดเชื้อ เอชไอวีทุกคนที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลศรีประจันต์ ตั้งแด่ 1 มกราคม 2547 - 31 ธันวาคม 2547
ผลการศึกษา: พบผู้ติดเชื้อทั้งหมด 62 รายอายุ 31-40 ปีในจำนวนนื้มี 36 รายที่เป็นหญิง และส่วนใหญ่ผู้ติดเชื้อยังไม่มีอาการและมี CD4 < 200 Cell/mm3, เป็น AIDS defining disease และผู้ติดเชื้อที่มอาการ (Symptomatic HIV infection) ได้รับการรักษาด้วย HAART thearpy โดยใช้ยา 3 สูตร โดย GPO Vir เป็นสูตรยาที่ใช้มากที่สุด โดยใช้มากกว่า 90% ซึ่งการรักษาด้วย ยาต้านไวรัสเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ยืดอายุของผู้ติดเชื้อและทำให้คุณภาพชีวิต ของผู้ติดเชื้อดีขึ้น
สรุป: การศึกษาที่แสดงให้เห็นว่าการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีด้วยยาต้านไวรัสทำให้การแบ่งตัวของเชื้อชะลอลง ซึ่งทำให้ชีวิตของผู้ติดเชื้อยืนยาวขึ้นและทำให้สุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อดีขึ้น
Article Details
References
2. Kasper DL, Harrison TR, editors. Principles of Internal Medicine, 16th ed. New York. Mc Graw Hill 2005, p 1076-1138
3. เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม, ประพันธ์ ภานุภาค. แนวทางการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ HIV. ใน วิทยา ศรีดามา บรรณาธิการ, Clinical Practice guideline ทางอายุรกรรม พ.ศ. 2544. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 หน้า 242-55.
4. ภิรมย์ กมลรัตนกุล, มนต์ชัย ชาลาประวรรตน์, ทวีสิน ตันประยูร, บรรณาธิการ. หลักทำการ วิจัยให้สำเร็จ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด, 2545.
4. ทัสสปี นุชประยูร, เติมศรี ชำนิจารกิจ, บรรณาธิการ. สถิติวิจัยทางการแพทย์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
5. Calmy A, Pascval F, Ford N. N Engl J med 2004;350:(26)2720-1.
6. Kovacs J.A. , Masur H, Prophyiaxis against opportunistic infection in patients with HIV infection. J Engl J Engl J Med 2000;342(19):1416-29.
7. Cocoran C, Grinspoon S. Treatments patients with the acquired immunodeficiency syndrome. N Enql J Med 1999;340:1740-50.
8. Fawzi WW and et al. Randamiazed Trial of Multivitamin supplements and HIV Disease progression and Mortality. N Engl J med 2004;351(1):23-32
9. Effect of coinfection with GB Virus C on survival among Patients with HIV Infection. N Engl J Med 2001;345;707-14
10. Pawlotsky JM Treating Hepatitis c in "Difficult to threat" Patients. N Engl J Med 2004;351:422-3.
11. สัญชัย ชาสมบัติ, ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์. แนวทางการปฏิบัติงานโครงการ การพัฒนาระบบบริการ และติดตามผลการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ พ.ศ.2546. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพมหานคร : สำนักโรคเอดส์, 2546.