การทำเอเพ็กซิฟิเคชั่นด้วยมิเนอรัลไตรออกไซด์แอ็กกรีเกรต ทางเลือกใหม่ของการรักษาคลองรากฟัน : รายงานผู้ป่วย 1 ราย

Main Article Content

สายสมร สบู่แก้ว

บทคัดย่อ

     เอเพ็กชิฟิเคชั่น คือ การรักษาคลองรากฟันในฟันที่ไม่มีชีวิต และปลายรากฟันเปิดกว้าง โดย การใช้วัสดุใส่เข้าไปในคลองรากฟันเพื่อกระตุ้นปลายรากฟันให้ปิด วัสดุที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ แคลเซียมไฮดรอกไซด์เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดี เช่น สามารถละลายเนื้อเยื่อในโพรงฟัน มีฤทธิ์ในการ ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียและกระตุ้นให้เกิดการปิดของปลายรากฟัน จากการศึกษา เกี่ยวกับระยะเวลาการปิดของปลายรากฟันเมื่อใช้แคลเซียมไฮดรอกไซด์พบว่าใช้ระยะเวลาไม่แน่นอน ดังนั้นจึงมีการแนะนำให้ใช้วัสดุตัวใหม่ คือมิเนอรัลไตรออกไซด์แอ็กกรีเกรด (MTA) แทน เนื่องจาก มีคุณสมบัติเด่นหลายประการคือ สามารถเช้ากันได้กับเนื้อเยื่อของร่างกาย มีความเป็นพิษต่อเนื้อเยื่อต่ำ มีความแนบสนิทสูง สามารถกระตุ้นให้เกิดการปิดของรากฟันได้โดยสามารถทำให้เสร็จในครั้งเดียว บทความนี้จะกล่าวถึงผลสำเร็จของการนำ MTA ไปใช้ในคลินิก ในฟันที่ไม่มีชีวิตแล้วจากอุบัติเหตุ เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ของการทำ apexification

Article Details

บท
รายงานผู้ป่วย

References

1. Rafter M. Apexification : a review Dental Traumatology 2005;21:1-8.

2. Moroto M, Barberia E, Planells P., Treatment of a non-vital immature incisor with mineral trioxide aggregate (MTA). Dental Traumatology 2003;19:165-9.

3. Giuliani V, Baccetti T, Pace R, Pagavino G„ The use of MTA in teeth with necrotic pulps and open apices. Dental Traumatology 2002;18:217-21.

4. Metzger Z, Solomonov M, Mass E., Calcium hydroxide retention in wide root canal with flaring apices. Dental Traumatology 2001;17:86-92.

5. Kinirons M.J, Srinivasan V, Velbury R.R., Finucane D. A study in two centres of variations in the time of apical barrier detection and barrier position in nonvital immature permanent incisors. Int J of Paediat- ric Dentistry 2001;11:447-51.

6. คิริพร ทิมปาวัฒน์, ปียาณี พาณิชย์วิสัย ทัศนคติการนำแคลเซียมไฮดรอกไซด์ เพื่อใช้เป็นยาในคลองรากฟันของ ทันตแพทย์ไทยกลุ่มหนึ่ง. J Dent Assoc Thai. 1998;48:143-7.

7. Lee SJ, Monsef M, Torabinejad M. Sealing ability of a mineral trioxide aggregate for repair of lateral perforation. J Endod 1993;19:541-4.

8. Torabinejad M, Hong V. Mc Donald F, Fitt Ford TR. Physical and chemical properties of a new root-end filling material. J Endod 1995;21:349-53.

9. Schwartz. R.S, Mauger M, Clement DJ. Case Reports, Mineral trioxide aggregate : A new material for endodontics. J AD A. 1999;130:967-75.

10. Torabinejad M, Chivian N. Clinical applications of mineral trioxide aggregate. J Endod 1999;25:197-205.

11. Witherspoon D.E, Ham K. One visit apcxification technique for inducing root-end barrier formation in apical closures. Pract Proced Aesthet Dent 2001;16:445-60.

12. Tronstad L, Asbjornsen K, Pedersent K, Pedersent I, Eriksen HM, Influence of coronal restorations on the periapical health of endodontically treated teeth. Endod Dent Traumatol 2000,16;218-21.