การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาของเด็กกลุ่มอาการดาวน์ในโรงพยาบาลสุรินทร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการของเด็กกลุ่มอาการดาวน์
ชนิดของการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนา
สถานที่ทำการศึกษา: คลินิกเด็กพิเศษโรงพยาบาลสุรินทร์
วิธีการศึกษา: เก็บรวบรวมข้อมูลจาก OPD Card และแฟ้มคลินิกเด็กพิเศษ ตังแต่ ปี พ.ศ.2545 - 2547 จำนวน 21 ราย
ผลการศึกษา: บิดามารดาส่วนใหญ่มีความรู้และเศรษฐานะต่ำ ทุกรายได้รับคำแนะนำทางเวชพันธุศาสตร์ โดยร้อยละ 71 บิดาและมารดาได้รับคำแนะนำด้านเวชพันธุศาสตร์ โดยกุมารแพทย์ ในช่วงแรกเกิดถึง 3 เดือน ร้อยละ 95.24 มารดา เป็นผู้เลี้ยงดู ร้อยละ 33.33 มีโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ร้อยละ 9.52 มี ภาวะต่อมธัยรอยด์บกพร่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ได้รับ early stimulation program เมื่ออายุ 1-2 เดือน คิดเป็นร้อยละ 14.28 และมากระตุ้น พัฒนาการทุกเดือนคิดเป็นร้อยละ 52.4 ร้อยละ 85 เริ่มฝึกพูดเมื่ออายุ มากกว่า 15 เดือน ได้รับการประเมิน Developmental Quotient (DQ) เมื่ออายุ 2-3 ปี ผลการประเมินส่วนใหญ่อยู่ระดับ moderate MR
ลรุป: เด็กกลุ่มอาการดาวน์ที่ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการอย่างสม่ำเสมอ และได้รับการดูแลสุขภาพที่ดี เมื่อประเมินพัฒนาการโดยการตรวจ DQ จะอยู่ในระดับ Moderate MR ขึ้นไป
Article Details
References
2. พรสวรรค์ วสันต์. แนวทางการดูแลเด็กกลุ่มอาการดาวน์, เอกสารประกอบการประชุม งานชุมนุมเด็กกลุ่มอาการดาวน์ ครั้งที่ 12, 2545:10-1.
3. Hayes A, Batshaw ML. Down Syndrome, Pediatr Clin Am 1993 Jun ;40(3):523-35.
4. Bricker D, Carlson L, Schwarz R. A discussion of early Intervention of infants with down syndrome. Pediatrics 1981 Jan; 17(1):45-6.
5. Ciccketti D Sroufe LA. The relationship between affective and cognitive developement in Down syndrome Child Dev 1976 Dec;47(4):920-29.
6. Goldon W, Pashayan HM. The effect of parental education on the eventual mental development of noninstitionalized children with Down Syndrome. J Pediatr 1976 Oct;89(4):603-5.
7. Kirman B. Growing up with Down Syndrome. Br J Hosp Med. 1980;23(4):385-8.