รายงานผู้ป่วยถูกงูทับสมิงคลากัดและทบทวนวารสาร

Main Article Content

สนิท เหลียงไพบูลย์

บทคัดย่อ

     งูทับสมิงคลากัดพบได้ไม่บ่อยนักในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รายงานผู้ป่วยชายไทยอายุ 17 ปี ถูกงูทับสมิงคลากัดมีอาการอัมพาตของกล้ามเนื้อทั่วร่างกายรวมถึงกล้ามเนื้อหายใจ และมีอาการ ลดลงของ Parasympathetic activities ซึ่งแสดงออกโดยมีความดันโลหิตสูง อัตราการเต้นของหัวใจเร็ว ม่านตาขยาย ได้ให้การรักษาโดยการช่วยหายใจและประคับประคองอาการต่างๆ ผู้ป่วยอาการดีขึ้นจนหายเป็นปกติ กลับบ้านได้หลังจากรักษาตัวในโรงพยาบาล 9 วัน

Article Details

บท
รายงานผู้ป่วย

References

1. บุญเยือน ทุมวิภาต, วิโรจน์ นุจพันธุ์. การรักษา ผู้ป่วยถูกงูพิษกัดและงูพิษในประเทศไทย. กทม. : โรงพิมพ์พิฆเณศ ; 2525 : 17-44.

2. สุชัย สุเทพารักษ์. งูพิษกัดและการดูแลผู้ป่วย. วารสารเวชศาสตร์และสิ่งแวดล้อม 2542 ; 1 (1) : 172-81.

3. มุกดา ตฤษฌานนท์, ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ. คู่มือการรักษาผู้ถูกงูกัด. การสัมมนาทางวิชาการ “แนวทางรักษาผู้ถูกงูกัด” ; 1-2 พฤษจิกายน 2533 ; ณ โรงแรมมโนรา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา. องค์การเภสัชกรรม, 2534.

4. Jintakune P.L., Limthongkul S., Mahasandana S., Meemano K., Pochanugool C.,Sitprija V.Venomous snakes and snake bite in Thailand. In: Gopalakrishnakone P.,Chou LM. (Eds). Snake of Medical Importance (Asia-pacific Region).Venom and Snake Reserch Group,University of Singapore, Singapore: 1990 ; 557-83.

5. Looareesuwan S, Viravan C., Warrell DA. Factors contributing to fatal snake bite in the rural tropics : analysis of 46 cases in Thailand. Tran R Soc Trop Med Hyg 1988;82:930-34.

6. Chang CC. The action of snake venomon nerve and muscle. In : Lee CY. (Ed.). Springer-Verlag, Berlin, Haidelbarg, New York ; 1979 : 309-76.

7. C.Loathong, V. Sitprija. Decreased parasympathetic activities in Malayan Krait (Bungarus Candidus) envenoming. Toxicon 2001 ; 39 : 1353-57.

8. ไพบุล์ จินตกุล. งูพิษในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ : บริษัทพิฆเณศพริ้นติ้ง เซนเตอร์จำกัด, 2543 ; 164-68.

9. David A Warrell. WHO/SEARO Guidlines for The clinical management of snake bites in the Southeast Asian region. 1999 ; 30 supplement 1 : 22-59.

10. เกษร มีมะโน. ผู้ป่วยที่มาด้วยงูกัดในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. จุฬาอายุรศาสตร์. ก.ค.-ส.ค. 2542 ; 12 (4) : 121-31.

11. Chang C.C. The action of snake venom on nerve and muscle. In : Lee C.Y.(Ed). Snake Venom. springer-verlag, Berlin, heidelbarg, New York 1979 : 309-76.

12. Minton S.A. Neurotoxic snake envenoming. Semin. Neurol 1990 ; 10 : 52-61.

13. Lee C.Y. Ccemistry and Pharmacology of polypeptides toxins in snake venom. Ann Rev Pharmacol 1972 ; 12 : 172-81.

14. ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ. การรักษาผู้ป่วยที่ถูกงูกัด. วารสารโรคติดเชื้อและยาด้านจุลชีพ 2529 ; 3 (3) : 148-56.

15. Myint T., Mra R., Chit M., Pe T., Warrell D.A., Bitesby the king cobra (Ophiophagus hannah) in yanmar : sucessful treatment of severe neurotoxic envenoming. Q.J.Med. 1991 ; 80 : 751-62.

16. Pawar D.K., Singh H. Elapid snakebite. Br.J.anaesth. 1987 ; 59 : 385-87.

17. Pe T., Myint T., Htut A., Myint A.A., Aung N.N., Envenoming by Chinese Krait (Bungarus multicinctus) and banded krait (Bungarus candidus) in Myanmar : Trans.R.Soc.Trop.Med.Hyg 1997 ; 91 : 686-88.