การติดเชื้อวัณโรคของบุคลากรในโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ.2543
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาเพื่อสำรวจการติดเชื้อวัณโรคในบุคลากรโรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ เป็นการศึกษาภาคตัดขวาง ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2543 กลุ่มตัวอย่างเป็น 152 คน จากทั้งหมด 177 คน (ร้อยละ 80.58) เป็นเพศชาย 40 คน และเพศหญิง 112 คน อายุเฉลี่ย 32.17 ปี (19-59 ปี) ผลการทดสอบทุเบอร์คุลิน พบอัตราการติดเชื้อวัณโรค ในบุคลากรโรงพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 47.37 (Induration มากกว่าหรือเท่ากับ 10 มม.) มิจำนวนร้อยละ 19.74 ที่มี Induration มากกว่าหรือเท่ากับ 15 มม. และพบว่าปัจจัยที่ศึกษาความสัมพันธ์กับการติดเชื้อวัณโรค ด้านอายุเพศ สถานที่ปฏิบัติงาน แผลเป็น BCG ประวัติการป่วยเป็นวัณโรค ประวัติการเป็นวัณโรค ในครอบครัว และระยะเวลาปฏิบัติงานในโรงพยาบาลไม่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อวัณโรค
Article Details
How to Cite
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ
References
1. สมาคมปราบวัณโรคแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. วัณโรค. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
2. Beck-Sauge’C, Dooley SW, Hutton MD, et al. Hospital outbreak of multidrug-resistant M. tuberculosis infections : Factors in transmission to staff and HIV-infected patients. JAMA 1992 ; 267 : 2632-6.
3. Dolley SW, Villarino ME, Lawrence M, et al. Nosocomial transmission of tuberculosis in a hospital unit for HIV-infected patients. JAMA 1992 ; 267 : 2632-5.
4. Edlin BR, Tokars JI, Grieco MH, et al. An outbreak of multidrug-resistant tuberculosis among hospitallized patients with AIDS. N Engl J Med 1992 ; 326 : 1514-21.
5. Hiroshi Nakajina. Tuberculosis : a global emergency, WHO, 1993 ; 43 : RR-13.
6. Centers for Disease Control and Prevention : guidelines for preventing the transmission of M. Tuberculosis in health care facility, 1994. MMWR 1994 ; 43 : RR-13.
7. Centers for Disease Control and Prevention : sceening for Tuberculosis and tuberculous infection in high-risk populations, and the use of preventive theapy for tuberculous infection in the United States : Recommendations of the Advisory Committee for Elimintion of Tuberculosis. MMWR 1990 ; 39 : RR-8.
8. รายงานประจำปี. โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย พ.ศ.2540-2542.
9. กองควบคุมวัณโรค. รายงานระบาดวิทยา ของวัณโรคในประเทศไทยอัตราการติดเชื้อวัณโรค ในประชากรทุกหมวดอายุ พ.ศ. 2520.
10. รัตนา พันธ์พานิช, คุลดา พฤติวรรธน์. การ ติดเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล นครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวัณโรคและทรวงอก 2538 ; 16 ; 25-34.
11. Buthpongsapan S, Pitaksiripan S. Prevalence of tuberculosis infection among hospital personal, Lampang Hospital. Tenth workshop on Nosocomial infection Control. July 24-26, 1996, Rayong Resort, Rayong, Organized by the Nosocomial Infection Cotrol Group of Thailand (Abstract).
12. อาภรณ์ อุบลสะอาด, จารุวรรณ นาคครวญ. การติดเชื้อวัณโรคในบุคลากรจังหวัดชลบุรี. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี 1997 ; 22 (1) :
13. นรวิร์ จั่วแจ่มใส, อุไร ภูนวกุล, งามตา เจริญธรรม. การติดเชื้อวัณโรคในบุคลากร โรงพยาบาลพระปกเกล้า. วารสารโรงพยาบาล พระปกเกล้า 1997 ; 14 : 131-141.
14. สมชัย บวรกิตติ. วัณโรคปอด. กรุงเทพ : บริษัท ธรรมสาร จำกัด, 2530.
15. ประมวญ สุนากร. วัณโรคในเด็ก. พิมพ์ครั้ง ที่ 3. กรุงเทพ : บริษัทดีไซร์ จำกัด, 2535.
16. คิรีกัณฑ์ เจียรพงษ์, นรวิร์ จึงแจ่มใส, อุไร ภูนากุล, งามตา เจริญธรรม, การติดเชื้อวัณโรค ของบุคลากรพระปกเกล้า, วารสาร โรงพยาบาลพระปกเกล้า 1997 ; 14:25-32.
17. Fridkin SK, Manangan L, Bolyard E, Jarvis WR. SHEA-CDC TB surver, part lEefficacy of TB infection control program at member hospitals, 1992. Infect Cotrol Hosp Epidemiol 1995 ; 16 : 135-40.
18. Ikeda RK, Birkhead GS, DiFerdinando GT, et al. Nosocomial Tuberculosis : an outbreak of a strin resistant to seven drug. Infect Control Hosp Epidemiol 1995 ; 16 : 152-9.
19. Riley RL, Wells WF, Mills CC, et al. Air hygiene in tuberculosis : quantitive studies of infectivity and control in a pilot ward. American Review of Tuberculosis 1957 ; 75 : 420-31.
20. Stroud LA, Tokars JI, Grieco MH, et al. Evaluation of infection control measures in preventing nosocomial tranmmission of multidurg-resistant M.tuberculosis in a New York City Hospital. Infection Control Hosp Epidemiol 1995 ; 16 : 141-7.
2. Beck-Sauge’C, Dooley SW, Hutton MD, et al. Hospital outbreak of multidrug-resistant M. tuberculosis infections : Factors in transmission to staff and HIV-infected patients. JAMA 1992 ; 267 : 2632-6.
3. Dolley SW, Villarino ME, Lawrence M, et al. Nosocomial transmission of tuberculosis in a hospital unit for HIV-infected patients. JAMA 1992 ; 267 : 2632-5.
4. Edlin BR, Tokars JI, Grieco MH, et al. An outbreak of multidrug-resistant tuberculosis among hospitallized patients with AIDS. N Engl J Med 1992 ; 326 : 1514-21.
5. Hiroshi Nakajina. Tuberculosis : a global emergency, WHO, 1993 ; 43 : RR-13.
6. Centers for Disease Control and Prevention : guidelines for preventing the transmission of M. Tuberculosis in health care facility, 1994. MMWR 1994 ; 43 : RR-13.
7. Centers for Disease Control and Prevention : sceening for Tuberculosis and tuberculous infection in high-risk populations, and the use of preventive theapy for tuberculous infection in the United States : Recommendations of the Advisory Committee for Elimintion of Tuberculosis. MMWR 1990 ; 39 : RR-8.
8. รายงานประจำปี. โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย พ.ศ.2540-2542.
9. กองควบคุมวัณโรค. รายงานระบาดวิทยา ของวัณโรคในประเทศไทยอัตราการติดเชื้อวัณโรค ในประชากรทุกหมวดอายุ พ.ศ. 2520.
10. รัตนา พันธ์พานิช, คุลดา พฤติวรรธน์. การ ติดเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล นครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวัณโรคและทรวงอก 2538 ; 16 ; 25-34.
11. Buthpongsapan S, Pitaksiripan S. Prevalence of tuberculosis infection among hospital personal, Lampang Hospital. Tenth workshop on Nosocomial infection Control. July 24-26, 1996, Rayong Resort, Rayong, Organized by the Nosocomial Infection Cotrol Group of Thailand (Abstract).
12. อาภรณ์ อุบลสะอาด, จารุวรรณ นาคครวญ. การติดเชื้อวัณโรคในบุคลากรจังหวัดชลบุรี. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี 1997 ; 22 (1) :
13. นรวิร์ จั่วแจ่มใส, อุไร ภูนวกุล, งามตา เจริญธรรม. การติดเชื้อวัณโรคในบุคลากร โรงพยาบาลพระปกเกล้า. วารสารโรงพยาบาล พระปกเกล้า 1997 ; 14 : 131-141.
14. สมชัย บวรกิตติ. วัณโรคปอด. กรุงเทพ : บริษัท ธรรมสาร จำกัด, 2530.
15. ประมวญ สุนากร. วัณโรคในเด็ก. พิมพ์ครั้ง ที่ 3. กรุงเทพ : บริษัทดีไซร์ จำกัด, 2535.
16. คิรีกัณฑ์ เจียรพงษ์, นรวิร์ จึงแจ่มใส, อุไร ภูนากุล, งามตา เจริญธรรม, การติดเชื้อวัณโรค ของบุคลากรพระปกเกล้า, วารสาร โรงพยาบาลพระปกเกล้า 1997 ; 14:25-32.
17. Fridkin SK, Manangan L, Bolyard E, Jarvis WR. SHEA-CDC TB surver, part lEefficacy of TB infection control program at member hospitals, 1992. Infect Cotrol Hosp Epidemiol 1995 ; 16 : 135-40.
18. Ikeda RK, Birkhead GS, DiFerdinando GT, et al. Nosocomial Tuberculosis : an outbreak of a strin resistant to seven drug. Infect Control Hosp Epidemiol 1995 ; 16 : 152-9.
19. Riley RL, Wells WF, Mills CC, et al. Air hygiene in tuberculosis : quantitive studies of infectivity and control in a pilot ward. American Review of Tuberculosis 1957 ; 75 : 420-31.
20. Stroud LA, Tokars JI, Grieco MH, et al. Evaluation of infection control measures in preventing nosocomial tranmmission of multidurg-resistant M.tuberculosis in a New York City Hospital. Infection Control Hosp Epidemiol 1995 ; 16 : 141-7.