การคัดกรองโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในสตรีตั้งครรภ์ ในโรงพยาบาลราษีไศล

Main Article Content

Rangsima Thipprakmas

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการคัดกรองหาโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในสตรีตั้งครรภ์ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2549 ถึงวันที่ 30 กันยายน .2550
สถานที่ศึกษา: คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลราษีไศล
รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเซิงพรรณนาแบบย้อนหลัง
วิธีการศึกษา: เก็บข้อมูลสตรีตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลราษีไศล ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2549 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2550 โดยต้องมีค่าผลเลือด Hb typing, MCV หรือ OF, DCIP รวบรวมข้อมูลบันทึกลงในคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและวิเคราะห์ โดยใช้โปรแกรม Epi Info version 6 เพื่อหาค่าความไว ความจำเพาะ ค่าการ ทำนายผลบวก ค่าการทำนายผลลบ ความถูกต้องของการใช้ค่า MCV ที่ระดับ ต่าง ๆ นำค่าความไว และค่าผลบวกลวงของการใช้ค่า MCV ระดับต่าง ๆ มา สร้างความสัมพันธ์เป็นกราฟ เปรียบเทียบประสิทธิผลของการคัดกรอง โดยใช้ ค่า MCV รวมกับ DCIP กับการคัดกรองด้วย OF test ร่วมกับ DCIP
ผลการศึกษา: ค่า MCV น้อยกว่า 86 fl จะมีความไวสูงสุดเท่ากับร้อยละ 100 แต่มีความจำเพาะต่ำสุด เท่ากับร้อยละ 70 ค่า MCV น้อยกว่า 68 fl จะมีความไวต่ำสุด เท่ากับร้อยละ 37.50 แต่มีความจำเพาะสูงสุดเท่ากับร้อยละ 100 MCV ที่ระดับ 80 fl และ DCIP ให้ผลลบมีความถูกต้องในการทำนายร้อยละ 93.67 การใช้ OF test ร่วมกับ DCIP มีความไวร้อยละ 98.72 ความจำเพาะร้อยละ 80.00 ผลบวกลวงร้อยละ 20.00 ผลลบลวงร้อยละ 1.28 ผล OF test และ DCIP ให้ผลลบมีความถูกต้องในการทำนายร้อยละ 89.24
สรุป: การคัดกรองโดยใช้ค่า MCV ทีระดับ 80 fl ร่วมกับ DCIP จะมีประสิทธิผลดีกว่าการคัดกรองด้วย OF test ร่วมกับ DCIP precipitation test 

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. ทัศนีย์ เล็บนาคม, สุทัศน์ ฟู่เจริญ, ปราณี ฟู่เจริญ, นพดล ศิริธนารัตนกุล, วรวรรณ ตันไพจิตร. THALASSEMIA : from molecular biology to clinical medicine. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย ; 2544.

2. ต่อพงศ์ สงวนเสริมศรี, มาลิดา พรพัฒน์กุล, ปราณี ฟู่เจริญ, สุพรรณ ฟู่เจริญ, ทัศนีย์ เล็บนาค. ธาลัสซีเมีย :คู่มือการวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร : เครือข่าย งานธาลัสซีเมีย และมูลนิธิโรคโลหิตจาง ธาลัสซีเมียแห่งประเทศไทย ; 2541

3. สุทัศน์ ฟู่เจริญ, ปราณี (วินิจจะกุล) ฟู่เจริญ. Thalassemia and hemoglobinopathies. ใน : ถนอมศรี ศรีชัยสกุล, แสงสุรีย์ จูพา, บรรณาธิการ. ตำราโลหิตวิทยา การวินิจฉัย และการรักษาโรคเลือดที่พบบ่อยในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : ทีพีพริ้นท์ 2537. หน้า 202-42

4. พงศ์จันทร์ หัตถีรัตน์, วีรวรรณ มหาพรรณ. โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย. ใน : พงศ์จันทร์ หัตถีรัตน์, อำไพวรรณ จวนสัมฤทธิ์, ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา, บรรณาธิการ. โลหิตวิทยาในเด็ก. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ชัยเจริญ ; 2538. หน้า 70-90.

5. วรวรรณ ตันไพจิตร ธาลัสซีเมียใน : มนตรี ตู้จินดา, วินัย สุวัตถี, อรุณ วงษ์จิราษฎร์, ประอร ชวลิตธำรง, พิภพ จิรภิญโญ, บรรณาธิการ. กุมารเวชศาสตร์ เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที, 1. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์ ; 2541. หน้า 1451-74

6. ปราณี สุจริตจันทร์. Thalassemia Syndrome. ใน : วิทยา ศรีมาดา, บรรณาธิการ. ตำรา อายุรศาสตร์ 3. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ยูนิตี้พับลิเคซั่น ; 2542. หน้า 277-97

7. ธีระ ทองสง. ธาลัสซีเมีย.ใน: ธีระ ทองสง, จตุพล ศรีสมบูรณ์, บรรณาธิการ. ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์ในสตรีตั้งครรภ์. กรุงเทพมหานคร : พีบีฟอเรนบุ๊คส ; 2536. หน้า 187-207.

8. พงศ์จันทร์ หัตถีรัตน์. โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย และฮีโมโกลบินผิดปกติ. ใน : วันดี วราวิทย์, ประพุทธ. ศิริปุณย์, สุรางค์ เจียมจรรยา, บรรณาธิการ. ตำรากุมารเวชศาสตร์ (ฉบับ เรียงเรียงใหม่, เล่ม 2). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : พับลิซซิ่ง ; 2540. หน้า 455-64
9. Cunningham FG, Gant NF, Leveno KJ, Gilstrap 111 LC, Hauth JC, Wenstrom KD. Williams obstetrics. 21st ed. McGraw - Hill ; 2001. p. 1307-38.

10. กิตติ ต่อจรัส, วรรณ ดันไพจิตร. การวินิจฉัยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียและภาวะเทรต (Diagnosis of thalassemia disease and traits). ใน : จินตนา ศิรินาวิน, วันชัย วนะชิวนาวิน, วรวรรณ ตันไพจิตร, ชนินทร์ ลิ่มวงศ์, บรรณาธิการ. ธาลัสซีเมียสำหรับเวชปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : หมอชาวบ้าน ; 2544. หน้า 119-37.

11. กิตติ ต่อจรัส. Thalassemia : diagnosis and Prevention. ใน : ธานินทร์ อินทรกำธรชัย, บรรณาธิการ. โลหิตวิทยาในเวชปฏิบัติ. พิมพ์ ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์ ; 2542. หน้า 91-100.

12. กิตติ ต่อจรัส. ธาลัสซีเมียสำหรับเวชปฏิบัติใน โรงพยาบาลและสาธารณสุขมูลฐาน (THALASSEMIA FOR HOSPITAL PRACTICE AND PRIMARY HEALTH CARE). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : สยามศิลปการพิมพ์ 1- 2544.

13. กุลนภา ฟู่เจริญ. การอ่านและการแปลผลการ ตรวจหาชนิดฮีโมโกลบิน. ใน : สุพรรณ ฟูเจริญ, บรรณาธิการ. ธาลัสซีเมียที่พบบ่อยในประเทศไทย. ขอนแก่น : คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ; 2540. หน้า 94-106.

14. บุญเชียร ปานเสถียรกุล. ธาลัสซีเมียและการให้คำปรึกษาแนะนำ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว ; 2546.

15. ภัทรพร อิศรางกูร ณ อยุธยา. ภาวะเลือดจาง และโรคของเม็ดเลือดแดง.ใน: วันดี วราวิทย์, ประพุทธ ศิริปุณย์, สุรางค์ เจียมจรรยา, บรรณาธิการ. ตำรากุมารเวชศาสตร์ (ฉบับ เรียบเรียงใหม่ เล่ม 2). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โอลิสติก พับลิซชิ่ง ; 2540. หน้า 431-8.

16. ทัสสนี นุชประยุร. หลักการและการพิจารณา ใช้การตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค (Diagnostic Tests). ใน : ทัสสนี นุชประยูร, เติมศรี ชำนิจารกิจ, บรรณาธิการ. สถิติในวิจัยทางการแพทย์. พิมพ์ ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์ ; 2537. หน้า 319-35.

17. จิว เชาว์ถาวร, สุทัศน์ ฟู่เจริญ, จินตนา พัฒนพงศ์ธร. ธาลัสซีเมีย : คู่มือการวินิจฉัยและแนะนำปรึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ; 2542.

18. ศิริพร กัญชนะ, นิพรรณพร วรมงคล, จินตนา พัฒนพงศ์ธร. คู่มือการปฏิบัติงานโครงการป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย และฮีโมโกลบินผิดปกติในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ; 2544.

19. สุพรรณ ฟู่เจริญ, กุลนภา ฟู่เจริญ : การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อการวินิจฉัยธาลัลซีเมีย ตามแผนงานการควบคุมและบ้องกันโรคของประเทศไทย : สงขลานครินทร์เวชสาร 2545;20:43-55.

20. สนั่น ชื่นตา, สุธรรม กลางบุรัมย์, ทนงศักดิ์ จำปาแพง. อุบัติการณ์พาหะบีต้าธาลัสซีเมีย โรคธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติของโรงพยาบาลยโสธร. ยโสธรเวชสาร 2542;1(2):69-81.