การใช้เครื่องมือปรับแต่งจมูกและสันเหงือกก่อนการผ่าตัดสำหรับทารกปากแหว่งเพดานโหว่ : รายงานผู้ป่วย

Main Article Content

รัศมีจันทร์ กีรติสุขสกุล

บทคัดย่อ

          ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่เป็นภาวะความผิดปกติแต่กำเนิด ทำให้เกิดปัญหาแก่ผู้ป่วย ได้แก่ ปัญหาด้านความสวยงาม ปัญหาการดูดนม โครงสร้างจมูกและขากรรไกรบนผิดปกติ และปัญหาการพูด การใช้เครื่องมือปรับแต่งจมูกและสันเหงือกก่อนการผ่าตัด ทำให้ผลของการผ่าตัดแต่งริมฝีปากและจมูกดีขึ้น บทความนี้ รายงานกรณีศึกษาผู้ป่วยทารกเพศหญิงไทยหนึ่งราย อายุ 10 วัน มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ด้านซ้ายแบบสมบูรณ์ ได้รับการใส่เครื่องมือปรับแต่งจมูกและสันเหงือกก่อนการผ่าตัดริมฝีปากและจมูก ผลการรักษาเป็นที่พอใจ ผู้ป่วยดูดนมได้ดี กระดูกพรีแมกซิลลาถูกดึงเข้ามาอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม โครงสร้างจมูกดีขึ้น

Article Details

บท
รายงานผู้ป่วย

References

Proffit WR, Fielda HW, Ackerman JI, Sinclair PM, Tulloch JF. Contemporary orthodontics. 2nd ed.St Louis. Mosby-Year Book Inc; 1993.p57.

อำพร แดงแสงทอง, คัดเค้า วงษ์สวรรค์, ปานทิพย์ สวัสดิมงคล. อุบัติการณ์ของการเกิดปากแหว่งและเพดานโหว่ในโรงพยาบาลศิริราชในปี พ.ศ.2530. สารศิริราช 2531; 40: 741-44.

Lorente C, Cordier S, Goujard J, Ayme S, Bianchi F, Cakzolari E, et al. Tobacco and Congenital Malformation Working Group. Am J Public Health. 2000 Mar; 90(3): 415-9

Knott L, Hartridge T, Brown NL, Mansekk JP, Sandy JR. Homocysteine oxidation and apoptosis: a potential cause of cleft palate. In Vitro Cell Dev Biol Anim.2003 Jan-Feb; 39(1-2): 98-105.

Kelly D, O’Dowd T, Reubach U. Use of folic acid supplements and rick of cleft lip and palate in infants: a population-based cohort study. Br J Gen Pract. 2014 Jul; 62(600): 466-72.

Hozyasz K, Chelchowska M, Surowiec Z. (Plasma vitamin A in mothers of children with orofacial cleft) Ginekol Pol. 2004 Feb; 75(2): 139-44.

ศิวกร เจียรนัย, สุกัญญา เธียรวัฒน์. ระบาดวิทยาของภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ในประเทศไทย: การทบทวนวรรณกรรมจาก พ.ศ.2501 ถึงปัจจุบัน. วิทยาสารออนไลน์สมาคมทันตแพทย์จัดฟันแห่งประเทศไทย 2563; 2: 27-36

Chowchuen B. Overview of cleft lip-palate craniofacial anomalies in Southeast Asia with particular reference to Thailand in its immediate neighbors. Paper presented to WHO Meeting on International Collaboration to reduce to the Health-Care Burden of Craniofacial Anomalies; 2004 Dec 2-4; Geneva, Switzerland.

Amaratunga NA. A study of etiologic factors for cleft lip and palate in Srilanka. J Ortho Maxillofac Surg. 1989; 47: 7-10.

Wu Y, Zeng M, Xu C, Liang J, Wang Y, Miao L, et al. Analyses of the prevalence for neural tube defects and cleft lip and palate in China from 1988 to 1991(abstract). Hua Xi Yi Ke Da Xue Bao 1995; 26:215-9.

Shapira Y, Lubit E, Kuftinee MM, Barell G. The distribution of clefts of the primary and secondary palate by sex, type, type and location. Angle Orthod 1999; 69: 523-8.

Emanuel I, Huang SW, Gutman LT, Yu FC, Lin CC. The incidence of congenital malformations in a Chinese population: Taipei collaborative study. Teratology 1972; 5:159-69.

ศันสนีย์ อนันต์สกุลวัฒน์, นิตา วิวัฒนทีปะ, บรรณาธิการ. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปากแหว่งเพดานโหว่. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง; 2555.

เบญจมาศ พระธานี. ปัญหาการพัฒนาภาษา การคิดรู้ และเปล่งเสียง. ใน: บวรศิลป์ เชาวน์ชื่น, เบญจมาศ พระธานี, จารุณี ตันติยากุล, บรรณาธิการ. การดูแลแบบสหวิทยาการผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่และความพิการแต่กำเนิดของใบหน้าและกะโหลกศีรษะ ขอนแก่น: โรงพิมพ์ศิริภัณฑ์ ออฟเซท; 2545; 261-70.

บวรศิลป์ เชาวน์ชื่น. การดูแลแบบสหวิทยาการของผู้ป่วย ปากแหว่ง เหดานโหว่ และความพิการแต่กำเนิดของใบหน้า และกะโหลกศีรษะ. ขอนแก่น: ศิริภัณฑ์ ออฟเซท; 2547.

สุธีรา ประดับวงศ์. คำแนะนำการดูแลรักษาผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่. ขอนแก่น: ศูนย์ดูแลผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ และความพิการแต่กำเนิดของศีรษะและใบหน้า,มหาวิทยาลัย

ขอนแก่น; 2546.

มูลนิธิทันตกรรมจัดฟันแห่งประเทศไทย. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปากแหว่งเพดานโหว่. กรุงเทพฯ: คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2546.

มารศรี ชัยวรวิทย์กุล (บรรณาธิการ). การดูแลรักษาผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่สำหรับทันตแพทย์และทันตแพทย์จัดฟัน เล่ม1. เชียงใหม่: ทรีโอ แอคเวอร์ไทซิ่งแอนดืมีเดีย; 2555. หน้า 105-52.

ปองใจ วิรารัตน์, พินัย นิรันดร์รุ่งเรือง, วิภาพรรณ ฤทธิ์ถกล, ชุติมาพร เขียนประสิทธิ์. โคราชแนม. วิทยาสารสมาคมทันตแพทย์จัดฟันแห่งประเทศไทย 2553; 9: 33-42.

มารศรี ชัยวรวิทย์กุล.การปรับโครงสร้างจมูกและขากรรไกรบนในทารกปากแหว่งเพดานโหว่. Journal of Thai Association of Orthodontists 2016; 34:15-20.

Lo LJ. Primary correction of the unilateral cleft lip nasal deformity: Achieving the excellence. Chang Gung Med J 2006; 29:262-7.

Matsuo K, Hirose T, Otagiri T. Norose N. Repair of cleft lip with nonsurgical correction of nasal deformity in the early neonatal period. Plast Reconstr Surg 1989; 83:25-31.