การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเซลล์ตับโดยใช้เครื่องตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงในผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรัง

Main Article Content

เจตนา เจริญราษฎร์

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล: มะเร็งเซลล์ตับเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งในผู้ชายไทยและเป็นอันดับลามใน ผู้หญิงไทย ปิจจัยเสี่ยงที่สำคัญของคนไทยได้แก่การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรัง
วัตถุประสงค์: เพื่อค้นหาการเกิดโรคมะเร็งเซลล์ตับในผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรัง และคำนวณหาค่า ความไวและค่าพยากรณ์บวกสำหรับการใซ้อัสตร้าซาวด์ตับเป็นการตรวจคัดกรอง
วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาไปข้างหน้าเพื่อตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเซลล์ตับในผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรังโดยการทำอัลตร้าซาวด์ตับโดยรังสีแพทย์ระหว่างเดือนมีนาคม ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2554 จำนวน 1,085 ราย ผู้ชาย 539 ราย ผู้หญิง 546 ราย อายุเฉลี่ยอยู่ในช่วง 40-49 ปี ผู้ป่วยทุกรายที่ตรวจพบก้อนหรือสงสัยก้อนจากการตรวจอัลตร้าซาวด์ตับและระดับสารบ่งชี้ มะเร็งเซลล์ตับมากกว่า 20 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร จะได้รับการตรวจเพิ่มเติมโดยการทำ เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ตับและตรวจคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าชองตับ เพื่อดูลักษณะทางรังสีวิทยา ว่าเข้าได้กับโรคมะเร็งเซลล์ตับหรือไม่ รวมทังคำนวณหาค่าความไวและค่าพยากรณ์บวกสำหรับ การใช้อัลตร้าซาวด์ตับและระดับสารบ่งชี้มะเร็งเชลล์ตับในการตรวจคัดกรอง
ผลการศึกษา: ผู้ป่วย 23 ราย (ร้อยละ 2.13) ตรวจพบก้อนหรือสงสัยก้อนจากการตรวจ อัลตร้าซาวด์ตับ, 17 ราย (ร้อยละ 1.56) ตรวจพบการเพิ่มขึ้นชองระดับสารบ่งชื้มะเร็งเซลล์ตับมากกว่า 20 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร, 7 ราย (ร้อยละ 0.65) พบลักษณะทางรังสีวิทยาที,เข้าได้กับโรคมะเร็ง เซลล์ตับ, 1 ราย (ร้อยละ 0.09) พบโรคมะเร็งเซลล์ตับร่วมกับภาวะตับแข็ง, 6 ราย (ร้อยละ0.55) พบมะเร็งเซลล์ตับจากการตรวจทังจากอัลตร้าซาวด์ เอกซเรย์คอมพิวเตอร์และตรวจคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าชองตับ, 2 ราย (ร้อยละ 0.18) พบมะเร็งเซลล์ตับร่วมกับการเพิ่มชื้นของระดับ สารบ่งซีมะเร็งเซลล์ตับมากกว่า 20 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร, ค่าความไวและค่าพยากรณ์บวก ในการตรวจคัดกรองสำหรับการใช้อัลตร้าซาวด์ตับและการเพิ่มชื้นของระดับสารบ่งชื้มะเร็ง เซลล์ตับ คิดเป็นร้อยละ 85.7, 26.1, 28.6 และ 11.8 ตามลำดับ
สรป: พบการเกิดโรคมะเร็งเซลล์ตับในผู้ติดเชื้อไวรัสดับอักเสบบีเรื้อรังคิดเป็นร้อยละ 0.65และการ ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเซลล์ตับโดยใช้การตรวจอัลตร้าซาวด์ตับลามๅรฏตรวจพบโรคมะเร็ง เซลล์ตับได้ดีกว่าการใช้การเพิ่มชื้นของระดับสารบ่งชี้มะเร็งเซลล์ตับ

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข.สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2551. กรุงเทพๆ; โรงพิมพ์องศ์การสงเคราะห์ทหาร ผ่านศึก; 2551.
2. Custer B, Sullivan SD, Flazlet TK, et al. Global epidemiology of hepatitis B virus. J ClinGastroenterol 2004; 38: S158-68.
3. Merican I, Guan R, Amarapuka D, Alexander MJ, Chutaputti A, Chien RN, et al. Chronic hepatitis B virus infection in Asian countries. J Gastroenterol Hepatol 2000; 15:12:1356-61.
4. Chen CJ, Wang LY, Yu MW. Epidermiology of hepatitis B virus infection in the Asia-Pacific region. J Gastroenterol 2000; 15 (Suppl): E3-6.
5. McMahon BJ, Alward WL, Hall DB, et al. Acute hepatitis B virus infection: relation of age to the clinical expression of disease and subsequent development of the carrier state. J Infect Dis 1985; 151: 599-603.
6. Liaw YF, Tai Dl, Chu CM, et al. The development of cirrhosis in patients with chronic type B hepatitis: a prospective study. Hepatology 1988; 8: 493-6.
7. Hsu YS, Chien RN, Yeh CT, et al. Long-term outcome after spontaneous HBeAg seroconversion in patients with chronic hepatitis B. Hepatology 2002; 35: 1522-7.
8. Fattovich G, Brollo L, Giustina G, et al. Natural history and prognostic factors for chronic hepatitis type Bj Gut 1991; 32: 294-8.
9. Fattovich G, Giustina G, Schalm SW, et al. Occurrence of hepatocellular carcinoma and decompensation in Western European patients with cirrhosis type B. The EUROHEP Study Group on Hepatitis B Virus and Cirrhosis. Hepatology 1995; 21: 77-82.
10. Fattovich G, Pantalena M, Zagni I, et al. Effect of hepatitis B and c virus infections on the natural history of compensated cirrhosis: a cohort study of 297 patients. Am J Gastroenterol 2002; 97: 2886-95.
11. Chen CJ, Yu MW, Liaw YF. Epidemiological characteristics and risk factors of hepatocellular carcinoma. J Gastroenterol Hepatol 1997; 12 (Suppl): 294-308.
12. Chen CJ, lloeje UH, Yang HI, et al. Long-term outcomes in hepatitis B: the REVEAL-HBV study. Clin Liver Dis. 2007; 11:4: 797-816.
13. Zhang BH, Yang BH, Tang ZY. Randomized controlled trial of screening for heapto cellular carcinoma. J Cancer Res Clin Oncol. 2004; 130: 417-22.