การดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเบื้องต้นในระยะฉุกเฉินสำหรับพยาบาล

Main Article Content

จตุพงษ์ พันธ์วิไล
ภูพิงค์ เอกะวิภาต
สายสมร บริสุทธิ์

บทคัดย่อ

โรคหลอดเลือดสมองเป็นภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติทั่วไปโดยตลอดเวลาที่ผ่านมากว่า 15 ปี ได้มีการศึกษาเกี่ยวกับการเกิด Stroke มากขึ้น มีการให้ความรู้แก่บุคลากรทางการแพทย์รวมถึงการมีส่วน ร่วมของประชาชนในการดูแล ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองอย่างเป็นระบบ แต่การจัดการเหล่านี้ก็ไม่สามารถ ช่วยลดจำนวนผู้ป่วยกลุ่มนี้ลงได้(1) โดยในแต่ละปี มีผู้ป่วยกว่า 795,000 คน เป็นผู้ป่วยใหม่ 610,000 ราย และผู้ป่วยกลับมาเป็นซ้ำหรือที่ยังคงเป็นอยู่เดิม 185,000 ราย และยังคงเป็นสาเหตุการตายอันดับที่สามใน สหรัฐอเมริกา(2) ส่วนในประเทศไทย มีการประมาณการว่ามีผู้ป่วยประมาณ 150,000 รายต่อปีและมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นทุกปี(3) ปัจจุบันโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายอันดับที่ 5 ของประชากรไทย และมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้น รองจากมะเร็ง โรคติดเชื้อ อุบัติเหตุและโรคหัวใจ(4) โรคนี้เป็นโรคที่มีความรุนแรงสูงและก่อให้เกิด ความพิการในระยะยาวทำให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างมากการป้องกันและรักษาอย่างทันท่วงทีจึงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งที่จะควบคุมโรคนี้และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น

Article Details

บท
บทความพิเศษ

References

1. Jauch EC, Cucchiara Brett, Adeoye 0, MeurerW, Brice Jane, Chan Y, et al. Part 11: Adult Stroke: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Ressuscitation and Emergency cardiovascular Care. Circulation 2010;818-20.
2. Urden LD, Stacy KM, Lough ME. Critical care nursing: Diagnosis and management (6th ed.). St. Louis, MO: Mosby Inc; 2010 : 727.
3. พรภัทร ธรรมสโรช, เพิ่มพันธุ ธรรมสโรซ. ประสาทวิทยาทางคลินิก Clinical Neurology. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย;
4. ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร. ประสาทวิทยา ทันยุค Modern Neurology. กรุงเทพๆ : หน่วยประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2553: 33-41.
5. เอื้อมพร สกุลแก้ว. 5 โรคร้ายคร่าชีวิตคนไทย: อันดับ 4 โรคหลอดเลือดสมอง. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ใกล้หมอ; 2551.
6. เจียมจิต แสงสุวรรณ. โรคหลอดเลือดสมอง การวินิจฉัยและการจัดการทางการพยาบาล. ขอนแก่น : โรงพิมพ์คิริภัณฑ์ออฟเซ็ท;2541; 52-80.
7. อารมณ์ เจษฎาญานเมธา. หลักการใช้ยาบำบัดในโรคหลอดเลือดสมอง. เอกสารการสอนวิชา 151531 เภสัชบำบัดประยุกต์ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2550;4.
8. สุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ, ชวนพิศ ทำนอง. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะเจ็บป่วยวิกฤต: Critical Care Nursing. พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น : สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ สายวิชาพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2551;217.
9. ภัทรวิทย์ รักษ์กุล. โรคหลอดเลือดสมอง.[ออนไลน์]. 2550. [สืบค้น 28 พฤษภาคม 2550]; [22 หน้า]. เข้าถึงได้ที่ URL:http://med.tu.ac.th/uP๒ads/a rticle/pDF/6kv6(1).pdf.
10. พรภัทร ธรรมสโรช. โรคหลอดเลือดสมองตีบ (Ischemic stroke). กรุงเทพฯ : จรัลสนิทวงศ์ การพิมพ์; 2555:5.
11. ศิริวรรณ วินิจศร, จิราภรรณ ทองสุโชติ, พิสมณฑ์ คุ้มทรัพย์. คู่มือการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการ ตรวจและรักษาด้วยรังสีเคมีบำบัด. กรุงเทพฯ : ฮายาบูสะ; 2548;31-4.
12. สาโรจน์ วรรณพฤกษ์, อรสา ชวาลภาฤทธิ์, อภิญญา เจริญกิตต์. Ultrasound in Clinical Practice :การวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์; 2548:226.
13. Hanzinski MF; editor.Highlights of the 2010 American Heart Association Guidelines for CPR and ECC. [online], 2010 [Available from:URL:http:uccaribe. edu/ertc/2010 summary.PDF.
14. Berg RA, Hemphill R, Abella BS, Aufderheide TP, Cave DM, Fran Hazinski M, et al. Part5: Adult Basic Life Support: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care. Circulation. 2010;686-98.
15. Brainin M, Heiss WD. Text book of Stroke medicine. UK : Cambridge University Press 2010;225.
16. ปราณี ทู้ไพเราะ, วันดี โตสุขศรี, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์. การพยาบาลอายุรศาสตร์ 1. กรุงเทพฯ : เอ็มพีเพรส ; 2552:89-90.