การศึกษาภาพถ่ายเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ในผู้ป่วย Gastrointestinal stromal tumors โรงพยาบาลสุรินทร์ พ.ศ. 2550 - 2551
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาภาพถ่ายเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ของผู้ป่วย primary และ metastatic gastrointestinal tumors (GIST)
รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา
สถานที่ศึกษา: โรงพยาบาลสุรินทร์
ระยะเวลาศึกษา: พ.ศ. 2550-2551
วิธีการศึกษา: ศึกษาอาการทางคลินิกและภาพถ่ายเอ็กซเรยคอมพิวเตอร์ ในผู้ป่วย 4 รายที่ได้รับ การวินิจฉัยว่าเป็น GIST จาก histological และ immunohistochemical (IHC) ภาพถ่ายเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ จะประเมินถึงตำแหน่ง, ขนาด, enhancement characteristics และ pattern of metastasis
ผลการศึกษา:
: Clinical features
มีผู้ป่วยทั้งหมด 4 ราย เป็นชาย 2 ราย และหญิง 2 ราย อายุระหว่าง 20-74 ปี (อายุเฉลี่ย 46 ปี) คนไข้ทั้งหมดมาด้วยอาการปวดท้อง 3 คนมีอาการเลือดออก จากทางเดินอาหารและซีดร่วมด้วย
: CT features
พบที่กระเพาะอาหาร 2 ราย, ลำไส้เล็ก 1 ราย และ mesentery 1 ราย primary tumors มีลักษณะเป็น endophytic และ exophytic 50%, aneurysmal dilatation of bowel 25%, large mass at mesentery 25% ขนาดมากกว่า 5 ซม. (6-10 ซม.) 75% และ inhomogeneous enhancement 100%, metastatic disease พบที่ตับ 1 ราย และ mesentery 1 ราย
สรุป: GIST เป็น classification ใหม่ของ mesenchymal tumors ในทางเดินอาหารและ ช่องท้องซึ่งมีความแตกต่างจากSmooth muscle tumors ทั้ง behavior และ immunology รังสีแพทย์สามารถวินิจฉัย primary tumors ได้ค่อนข้างแม่นยำ จากการที่มันมีลักษณะของ endophytic และ exophytic bowel mass ขนาดใหญ่ ที่มี necrosis หรือ hemorrhage ลำหรับ aneurysmal dilatation of bowel ซึ่งมีลักษณะคล้าย lymphoma ก็สามารถพบได้เช่นกัน ส่วน metastatic disease มัก พบที่ตับและเยื่อบุช่องท้อง (mesentery, omentum, peritoneum)
Article Details
References
เรวัต พันธุ์วิเชียร. การรักษาโรคมะเร็งโดยวิธี target therapy : ตอนที่ 1 (Targeted cancer therapies for solid tumors : Part 1) Ramathibodi Clinical Medicine Update 2008 New Knowledge in Internal Medicine: For better care in the next decade: 263-90
Kumaresan Sandrasegaran, Arumugam Rajesh, Jonas Rydberg, Daniel A, Rushing Fatih M, Akisik, John D.Henley. Gastrointestinal Stromal Tumors: Clinical, Radiologic, and Pathorloic Features AJR 2005;184(3):803-11
Joensuu H, Fletcher C, Dimitrijevic S, Silberman S, Roberts P, Demitri G. Management of Malignant gastrointestinal stromal tumors. Lancet Oncol 2002:3:655-64
J Aidan Carney. Gastric stromal sarcoma, pulmonary condroma and extra-adrenal Paraganglioma (Carney Triad); natural history, adrenocortical component and possible Familial occurrence. Mayo Clinic Proceedings 1999; 74(6):543-52
Sauseng W, Benesch M, Lacner H, Urban Ckronberger M, Gadner H, Hollwarth M, Spuller E, Aschauer M, Horcher E. Clinical, radiological and pathological findings in four children with gastrointestinal tumors of the stomach. Pediatr Hematol Oncol 2007 Apr-May;24(3):209-19
Belies Z, Csapo Z, Csabo I, Papay J, Szabo J, Papp Z. Large gastrointestinal stromal tumor presenting as an ovarian tumor. A case report. J Report Med 2003:48(8):655-8.
Igwilo OC, Byrne MP, Nguyen KD, Atkinson J. Malignant gastric stromal tumor : unusual metastatic patterns. South Med J 2003;96(5):512-5.
Irving JA, Lerwill MF, Young RH. Gastrointestinal stromal tumors metastatics to the ovary: a report of five cases. Am J Surg Pathol 2005;29(7):920-6.
Sandrasegaran K, Rajesh A, Rushing DA, Rydberg J. Akisik FM, Henry JD. Gastrointestinal stromal tumors: CT and MRI findings. Eur Radiol 2005;15(7):1407-14.
Popovska S, Betova T, Deliiski T. Gastrointestinal stromal tumors-clinical and morphological aspects. Khirurgiia (Sofiia) 2004;60(3):33-9.