การคัดกรองโรคพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนของทารกแรกเกิด ในโรงพยาบาลราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

พิเชฎฐ์ จงเจริญ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลการตรวจคัดกรองโรคพร่องธัยรอยด์ฮอร์โมนของเด็กแรกเกิดในโรงพยาบาลราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงพรรณนา
สถานที่ทำการวิจัย: โรงพยาบาลราษีไศล
กลุ่มตัวอย่าง: เด็กแรกเกิดทุกคนที่คลอดที่โรงพยาบาลราษีไศล ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ค. 2544 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2548 อายุ 2 วัน ถึง 7 วัน
การวัดผล: การวิเคราะห์เชิงพรรณนาโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ๆของจำนวนนับ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย
วิธีการศึกษา: เด็กแรกเกิดที่คลอดที่โรงพยาบาลราษีไศล ได้รับการเจาะเลือดส้นเท้า เพื่อส่งคัดกรองระดับ TSH ทุกราย เมื่อพบค่า TSH มากกว่า 25 mU/L ต้องได้ รับการตรวจยืนยันระดับ TSH ซ้ำทุกราย
ผลการศึกษา: เด็กแรกเกิดจาก 1 สิงหาคม พ.ศ. 2544 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2548 มี จำนวน 3,797 ราย ได้รับการวัดระดับ TSH 3,797 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 พบทารกที่มีระดับ TSH ในเลือดสูงเกิน 25 mU/L 7 ราย (ร้อยละ 0.18) ได้รับการตรวจยืนยันระดับ TSH ทุกราย ผลการตรวจยืนยันพบว่าผิดปกติ 2 ราย คิดเป็นอุบัติการณ์การเกิดโรค 1 : 1,898 และ ได้ให้การวินิจฉัยเป็น โรคพร่องธัยรอยด์ฮอรโมนและรักษาติดตามต่อเนื่อง โดยแพทย์ของโรงพยาบาลราษีไศล
สรุป: การดัดกรองโรคพร่องธัยรอยด์ฮอรโมนในเด็กแรกเกิดมีประโยชน์ในการวินิจฉัยโรคได้ทันท่วงที และให้การรักษาก่อนอายุสามเดือนจะช่วยป้องกันภาวะปัญญาอ่อนในเด็กแรกเกิดได้

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. Klein AH, Meltzer S, FM. Improved prognosis in congenital hypothyroidism treatd befored age three months. J Pediatr 1972;81:912-5.

2. Smith DW, Blizzard RM, Wilkins L. The mental prognosis in hypothyroidism of infancy and childhood. A review of 128 cases. Pediatr 1957;19:1011-2.

3. Fisher DA, Dussault JH, Foley TP et al. Screening for congenital hypothyroidism : Results of screening one million North America infants. J Pediatr 1979;94:700-5.

4. Bams ND. Screening for congenital hypothyroidism : the first decade. Arch Dis Child 1985;60:587-92.

5. Grant DB, Smith I, Survey of neonatal screening for primary hypothyroidism in England, Wales, and Northern Island 1982-4. BMJ 1988;296:1355-8.

6. Sobel EH, Saenger O. hypothyroidism in newborn. Pediatr Rev 1989;11:15-20.

7. Glorieux, Dussault JH, Morrissette J, et al. Followup at age 5 and 7 years on mental development in children with congenital hypothyroidism detected by Quebec screening program. J Pediatr 1985;107:913-5.

8. New England Congenital Hypothyroid Collaborative : Neonatal Hypothyroidism screening:status of patient at 6 years of age. J Pediatr 1985;107:915-8.

9. Illig R,Largo RH, Welur M, et al. SIXTY Congenital hypothyroidism detected by neonatal thyroid screening : mental development at 1, 4 and 7 years : A longitudinal study. Acta Endocrinol 1986;(suppl 279):346-53.

10. Illig R, Largo RH, Q in Q, et al. Mental development in congenital hypothyroidism after neonatal screening. Arch Dis Child 1987;62:1050-5.

11. Charoensiriwatatana W. The pilot activities for neonatal screening in Thailand. National neonatal screening programme in Thailand,Chonburi, 19-20 April 1995. Organized by Department of Medical science, The Public Health, Thailand : 33-42.

12. Layde PM, Von Allman SD, Oakley GP Jr. Congenital hypothyroidism control programs : A cost-benefit analysis. JAMA 1979;241:2290-2.