การประเมินความวิตกกังวลก่อนได้รับการผ่าตัดและยาระงับความรู้สึกของผู้ป่วยในโรงพยาบาลสุรินทร์

Main Article Content

วิลาวัลย์ อึงพินิจพงศ์

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพี่อประเมินระดับความวิตกกังวลในผู้ป่วยที่จะมารับการผ่าตัดและรับยาระงับความ รู้สึกในโรงพยาบาลสุรินทร์ โดยใช้ แบบสอบถาม Thai APAIS ศึกษาปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์ และประเมินผลการเยี่ยมผู้ป่วยก่อนได้รับการผ่าตัดและยา ระงับความรู้สึกของกลุ่มงานวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลสุรินทร์
รูปแบบการวิจัย: Randomized trial
สถานที่ศึกษา: กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลสุรินทร์
กลุ่มตัวอย่าง: ผู้ป่วยที่มารับการผ่าดัดกรณีไม่ฉุกเฉิน ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2546 ถึง วันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2547 จำนวน 100 ราย
ผลการศึกษา: จำนวนผู้ป่วยที่มีอาการวิตกกังวลมิร้อยละ 16 โดยเพศหญิงและวัยทำงาน จะ เป็นกลุ่มที่มิความวิตกกังวลสูง ผู้ป่วยที่มิความวิตกกังวลมากก็ยี่งต้องการคำ อธิบายและรับทราบข้อมูลมาก หลังไต้รับการเยี่ยมจากวิสัญญีพยาบาล มีผู้ ป่วยจำนวนร้อยละ 55 ที่ไม่รู้สึกวิตกกังวลเลย
สรุป: การประเมินความวิตกกังวลในผู้ป่วยก่อนผ่าดัดและให้ยาระงับความรู้สึกสามารถ ทำไต้อย่างสะดวก รวดเร็วจากการใช้แบบสอบถามAPAIS วิธีการลดความ วิตกกังวลของผู้ป่วยที่สำคัญได้แก่ การป่องกัน โดยการเยี่ยมก่อนให้ยาระงับ ความรู้สึกเพื่อเตรียมความพร้อมและให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วย

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. โฉมชบา สิรินันทน์, มะลิ รุ่งเรืองวานิช, อมร วิจิตรพาวรรณ, ฉันทนา หมอกเจริญพงศ์. การประเมินความวิตกกังวลก่อนได้รับยา ระงับความรู้สึกโดยการใช้แบบสอบถาม HADS เปรียบเทียบกับ APAIS. วิสัญญีสาร 2543;26(3):155-163.

2. Kain ZN, Mayes LC, Cicchetti DV, et al. The Yale preoperative anxiety scale : How does it compare with a Gold Standard?. Anesth Analg 1997;85:783-8.

3. Moerman N. vanDam FS, Muller MJ, Oosting H. The Amsterdam preoperative anxiety and information scale(APAIS). Anesth Analg 1996;82:445-51.

4. ธนา นิลชัยโกวิทย์, มาโนช หล่อตระกูล, อุมาภรณ์ ไพศาลสิทธิเดช. การพัดเนาแบบสอบถาม Hospital Anxiety and Depression Scale ฉบับภาษาไทยในผู้ป่วยโรคมะเร็ง. วารสารสมาคม จิตแพทย์แห่งประเทศไทย 2539;41:18-30.

5. Hatava P. Olsson GL, Lagerkranser M. Preoperative psychological preparation for children undergoing ENT operations : a comparison of two methods. Paediatr Anaesth 2000;10(5):477-86.

6. Koroluk LD. Dental anxiety in adolescents with a history of childhood dental sedation. ASDC J Dent Child 2000;67(3):200-5.

7. Cassady JF Jr,Wysocki TT, Miller KM, Cancel DD, Izenberg N. Use of a preanesthetic video for facilitation of parental education and anxiolysis before pediatric ambulatory surgery. Anseth Analg 1999;88(2): 237-9.

8. Sala Blanch X, Moya Ruiz C, Edo Cebollada L. Usefulness of an anesthesia information sheet before the preoperative visit. Rev Esp Anestesiol Reanim 2000;47(1):10-4.