ผลกระทบของภาวะเบาหวาน ภาวะอ้วน หรือภาวะน้ำหนักตัวขึ้นมากกว่าปกติของมารดากับผลต่อน้ำหนักตัวทารกแรกเกิด และภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ การศึกษาย้อนหลังในโรงพยาบาลกลาง

Main Article Content

ฐิติกัญ ปรีชาพานิช

บทคัดย่อ

บทนำ:  ภาวะเบาหวานหรือภาวะน้ำหนักตัวขึ้นมากเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญในสตรีตั้งครรภ์ที่ทำให้เกิดผลเสียต่อทั้งมารดาและทารกในครรภ์ เช่น ภาวะครรภ์เป็นพิษ ทารกน้ำหนักตัวมาก


ทำให้คลอดยาก และมีโอกาสเกิดอันตรายระหว่างการคลอดได้สูงขึ้น  


วัดถุประสงค์:  ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะเบาหวาน ภาวะอ้วน ภาวะน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นมากในสตรีตั้งครรภ์ที่มีผลต่อน้ำหนักทารกแรกเกิด


วิธีดำเนินการวิจัย:  วิจัยศึกษาย้อนหลังจากเวชระเบียนสตรีตั้งครรภ์จำนวน 577 ราย ที่มาคลอดบุตรที่โรงพยาบาลกลางอายุระหว่าง 18-35 ปี เปรียบเทียบกับน้ำหนักทารกแรกเกิดแยกออก


เป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มสตรีตั้งครรภ์ปกติ สตรีตั้งครรภ์มีภาวะอ้วน (obesity) หรือน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นมาก กลุ่มสตรีตั้งครรถ์มีภาวะเบาหวาน (gestational diabetic mellitus) และกลุ่มสตรีตั้ง


ครรภ์ที่มีทั้ง 2 ภาวะ


ผลการวิจัย:  จากข้อมูลสตรีตั้งครรภ์ 577 ราย พบว่าในทั้ง 4 กลุ่มมี อายุมารดา BMI และน้ำหนักตัวที่ขึ้นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ น้ำหนักทารกแรกเกิดเฉลี่ยทั้ง 4 กลุ่ม 


3,027 3,2741 3,210 3,438 กรัมตามลำดับ แตกต่างกันอย่างมีนับสำคัญทางสถิติ (p gif.latex?< 0.01) เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ โดยวิธี logistic regression พบว่า ในสตรีคั้งครรภ์ที่น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น


มากพบภาวะน้ำหนักทารกแรกเกิดมากกว่าปกติได้เป็น 5 เท่าสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานจะเกิดภาวะ birth asphyxia ภาวะความดันโลหิตสูง อัตราการผ่าคลอดเพิ่มขึ้น (p gif.latex?< 0.01)


ส่วนภาวะตกเลือดหลังคลอดในตรีตั้งครรภ์ทั้ง 4 กลุ่มไม่แตกต่างกัน


สรุป:  ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ไน้ำหนังตัวทารกแรกเกิดมากกว่าปกติคือ ภาวะน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นมากในสตรีตั้งครรภ์ส่วนปัจจัยที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูง ภาวะ birth asphyxia และเพิ่มอัตตรา


การผ่าคลอดคือ ภาวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์


คำสำคัญ:  ภาวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ น้ำหนักตัวทารกแรกเกิดมากกว่าปกติ ภาวะน้ำหนักตัวขึ้นมาก

Article Details

บท
Original Article

References

1. Rajesh Rajput, Yogesh Yadav, Smiti Nanda. Prevalence of gestational diabetes & associate risk factors at a tertiary care hospital in Haryana.
India J med Res 2013; 137: 728-733.

2. ธีระ ทองสง. โรคเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์.ใน:ธีระ ทองสง,สุชยา ลือวรรณ, บรรณาธิการ. สูติศาสตร์ เรียบเรียง. พิมพ์ครั้งที่ 5.
ปทุมธานี: PB FORBOOK xm6,Tkou. sohk 425-38.

3. Triunfo S, Lanzone A. Impact of overweight and
obesity on obstetric outcomes. Journal of
Endocrinological investigation 2014; 37: 323-9.

4. Lao TT1, Wong KY. Perinatal outcome in large-
for-gestational-age infants. Is it influenced by
gestational impaired glucose tolerance?. J Reprod
Med 2002; 47: 497-502.

5. Casay BM, Lucas MJ. Pregnancy outcomes in
women with gestational diabetes compared with
the general obstetric population. Obstet Gynecol
1997; 90: 869-73.

6. Jensen MD. Obesity. In: Goldman L, Schafer
th
AI, editors. Goldmanûs Cecil Medicine. 24 ed.
Philadelphia, PA: Saunders Elsevier 2011; chap
227.

7. American College of Obstetricians and
Gynecologists. Committee Opinion No.549:
Obesity in pregnancy. Obstet Gynecol 2013; 121:
213-7.

8. Lashen H, Fear K, Sturdee DW. Obesity is
associated with increased risk of first trimester
and recurrent miscarriage: matched case-control
study. Hum Reprod 2004; 19: 1644-6.

9. Baeten JM, Bukusi EA, Lambe M. Pregnancy
complications and outcomes among overweight
and obese nulliparous women. Am J Public Health
2001; 91: 436-40.

10. Cedergren MI. Maternal morbid obesity and the
risk of adverse pregnancy outcome. Obstet
Gynecol. 2004; 103: 219-24.†

11. Cnattingius S, Bergstrom R, Lipworth L, Kramer
MS. Prepregnancy weight and the risk of adverse
pregnancy outcomes. N Engl J Med 1998; 338:
147-52.†

12. Oken E, Taveras EM, Kleinman KP, Rich-Edwards
JW, Gillman MW. Gestational weight gain and
child adiposity at age 3 years. Am J Obstet
Gynecol 2007; 196: 322.e1-8.

13. American College of Obstetricians and
Gynecologists. Fetal macrosomia. ACOG Practice
Bulletin 22. Washington, DC: ACOG; 2000.

14. American College of Obstetricians and
Gynecologists. Committee Opinion No.548:
Weight gain during pregnancy. Obstet Gynecol
2013; 121: 210-2.

15. Crane JM, White J, Murphy P. The effect of
gestational weight gain by body mass index on
maternal and neonatal outcomes. J Obstet
Gynaecol Can 2009; 31: 28-35.

16. Marin J.A., Russu M., Hudita D, Nastasia S.
Diabetes, Obesity and Excessive weight gain and
Pregnancy outcomes. Timisoara Medical Journal
2009; 59: 184-7.

17. Chow S, Shao J, Wang H. Sample Size
Calculations in Clinical Research. 2nd ed.
Chapman & Hall/CRC Biostatistics Series 2008;
p.100.