โรคหัวใจในผู้ป่วยเด็ก
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการเกิดโรคหัวใจในผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการตรวจรักษาในโรงพยาบาลสุรินทร์
วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง ทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยที่อายุน้อยกว่า 15 ปี ที่เข้ารับการตรวจรักษาในโรงพยาบาลสุรินทร์ และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจทั้งที่เป็น แต่กำเนิดและที่เป็นภายหลัง ในช่วง พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2554 ระยะเวลา 3 ปี
ผลการศึกษา: จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจมีจำนวนทั้งหมด 538 ราย โรคหัวใจที่พบ มากที่สุด คือ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด จำนวน 458 ราย (ร้อยละ 85.1) และโรคหัวใจที่เกิด ขึ้นภายหลัง จำนวน 80 ราย (ร้อยละ 14.9) ในกลุ่มโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคที่พบมาก ที่สุด คือ Ventricular septal defect ร้อยละ 28.8 รองมา คือ Patent ductus arteriosus รอยละ 26.9 Atrial septal defect ร้อยละ 14.5Pulmonary stenosis ร้อยละ 5.2 โดย ในกลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง พบ Acute rheumatic fever/Rheumatic heart disease มากทีสุด ร้อยละ 5.8 รองลงมา คือ โรคหัวใจที่เป็นภายหลังโรคคาวาซากิ ร้อยละ 2.8 Cardiomyopathy ร้อยละ 1.5 Myocarditis ร้อยละ 2.0 ในโรค Acute rheumatic fever/ Rheumatic heart disease อาการทีพบในผู้ป่วยส่วนใหญ่ คือ carditis และลิ้นหัวใจที่พบ ผิดปกติได้บ่อย คือ mitral valve และ aortic valve โรคหัวใจแต่กำเนิด ต้องส่งไปทำการ รักษาต่อร้อยละ 17.6 แต่โรคหัวใจหลังกำเนิด ส่วนใหญ่โรงพยาบาลสุรินทร์ทำการรักษาได้ มีอัตราการส่งต่อ ร้อยละ 0.2 แนวโน้มของการเกิดโรคหัวใจแต่กำเนิดยังคงที่ แนวโน้มการ เกิดโรคหัวใจหลังกำเนิดมีแนวโน้มลดลง โรงพยาบาลสุรินทร์สามารถจัดการดูแลผู้ป่วยโรค หัวใจหลังกำเนิดได้ดีขึ้นมาก แต่การดูแลผู้ป่วยแต่กำเนิดยังทำได้ดีปานกลาง มีผู้ป่วยจำนวน หนึ่งต้องส่งรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า
สรุป: โรคหัวใจในเด็กยังเป็นปัญหาที่สำคัญของโรงพยาบาลสุรินทร์ แนวโน้มการเกิดของโรคหัวใจ
แต่กำเนิดยังคงที่ แนวโน้มการเกิด โรคหัวใจหลังกำเนิดมีแนวโน้มลดลง จุดที่ต้องพัฒนาต่อ ไปเป็นเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจแต่กำเนิด ควรเพิ่มศักยภาพทำการผ่าตัด หรือทำการ รักษาด้วยสายสวนต่อไป และควรพัฒนาระบบการเก็บข้อมูลผู้ป่วยเพราะต้องทำการรักษา ต่อเนื่อง และยาวนาน ต้องพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลใกล้เคียง
คำสำคัญ: โรคหัวใจหลังกำเนิด โรคหัวใจหลังกำเนิด โรคหัวใจรูมาติก โรคคาวาซากิ
Article Details
References
2. Khongphatthanayothin A, Muangming- suk S, Lertsupcharoen P, Chotivitayata- rakorn p, Sathapoldecha R, Thisyakorn c. Congenital heart disease in Thai children: Classification based on the New England Regional Infant Cardiac Program. Asean Heart J 2001;8: 1-5.
3. Rosenthal G. Prevalence of congenital heart disease. In: Garson A, BrickerJ, Fisher D, Neish ร,eds. The science and practice of pediatric cardiology. Biltimore: William & Wilkins, 1998: 1083-106.
4. Panamonta M, Chaikitpinyo A, Klung boonkrong V, Tantisirin C, Bhuripanyo K. Heart diseases in school children : A preliminary survey in the Khon kaen municipal area. Srinagarind Hosp Med J 1986;1(4): 253-7.
5. Sittiwangkul R, Pongprot Y, Silvilirat S, Phornphutkul C. Pattern of congenital heart defect in Thai children. Poster presentation. The 11th Asian Congress of Pediatrics. November 2-7, 2003, Bangkok, Thailand.
6. Botto LD, Correa A, Erickson JD. Racial and Temporal Variations in the Prevalence of Heart Defects. Pediatrics 2001;107: e32.
7. Morton WE, Huhn LA. Epidemiology of Congenital Heart Disease observations in 17,366 Denver School Children. JAMA 1966;195: 1107-10.
8. ศุภรัช สุวัฒนพิมพ์. ความชุกของการเกิด โรคหัวใจแต่กำเนิดและการพบโรคหัวใจที่เกิด ภายหลังในผู้ป่วยเด็ก ในกลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์. วารสาร โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ : ปีที 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2552.
9. Eisenberg MJ. Rheumatic heart disease in the developing world: prevalence, prevention, and control. European Heart Journal 1993;14(1): 122-8.
10. Duronqpisitkul K, Sangtawesin C, Khon- qphattanayothin A, et a I. Epidemiologic study of Kawasaki disease and cases resistant to IVIG therapy in Thailand. Asian-Pacific J Allergy Immunol 2006;24: 27-32.
11. McCrindle BW. The prevalence of congenital cardiac lesions. In: Freedom RM, Yoo S-J, Mikailian H, et al., eds. The Natural and Modified History of Congenital Heart Disease. New York: Futura, Blackwell Publishing, 2004.
12. Newburger JW, Takahashi M, Gerber MA, Gewitz MH, Tani LY, Burns JC, et al. Diagnosis,treatment, and long-term management of Kawasaki disease. Pediatrics 2005;115: 1118.
13. Fischer TK, Holman RC, Yorita KL, Belay ED, Melbye M, Koch A. Kawasaki syndrome in Denmark. Pediatr Infect Dis J. 2007 May;26(5): 411-5.
14. Magnani JW, Dec GW. Myocarditis: current trends in diagnosis and treatment. Circulation 2006;113:876-90.