อัตราและแนวโน้มการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลตราด

Main Article Content

ทินภัทร คะระวานิช

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินแนวโน้มของอัตราผ่าตัดคลอดและอัตราทารกตายปริกำเนิดใน โรงพยาบาลตราด และหาความสัมพันธ์ระหว่างการผ่าดัดคลอดกับอัตราทารก ตายปริกำเนิด
รูปแบบการศึกษา: เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง
วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง เก็บข้อมูลโดยใช้ข้อมูลย้อนหลังในระบบสารสนเทศ โปรแกรม TRAD HMS กลุ่มตัวอย่างคือสตรีที่มาคลอดบุตรที่โรงพยาบาลตราด ระหว่างวนที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2551 ทำการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติไคสแควร์
ผลการศึกษา: ในช่วงระยะเวลา 5 ปี มีการคลอดทั้งหมด 10,367 ครั้ง อัตราการผ่าตัดคลอด ลดลงจากร้อยละ 22.75 ในปี 2546 เป็นร้อยละ 19.58 ในปี 2551 โดยมีอัตรา เฉลี่ยของการผ่าตัดคลอดเท่ากับร้อยละ 20.52 ข้อบ่งชี้ของการผ่าคลอดที่พบ บ่อยสามอันดับแรก คือ unprogress of labor, fetal distress (nonreassurering FHR pattern) and previous cesarean section อัตราทารกตายปริกำเนิดมิ ค่าอยู่ระหว่าง 3.82 ถึง 7.63 โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 5.69 ต่อการเกิด 1,000 ราย เมื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการผ่าตัดคลอดกับอัตราทารกตาย ปริกำเนิด พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 (p = 0.22)
สรุปผล: อัตราการผ่าตัดคลอดและอัตราทารกตายปริกำเนิดที่โรงพยาบาลตราดมีแนวโน้ม ลดลงแต่เมื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการผ่าดัดคลอดกับอัตรา ทารกตายปริกำเนิด พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ความเชื่อมั่น 0.05 (p = 0.22)
ลรุป: อัตราการผ่าตัดคลอดและอัตราทารกตายปริกำเนิดที่โรงพยาบาลตราดมีแนวโน้ม ลดลง แต่เมื่อเปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการผ่าดัดคลอดกับอัตรา ทารกตายปริกำเนิด พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมินัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ความเชื่อมั่น 0.05 (p = 0.22)
คำสำคัญ: อัตราการผ่าดัดคลอด, อัตราทารกตายปริกำเนิด

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. Belizan JM, Althabe F, Barros FC, Alexander S. Rate and implications of caesarean sections in Latin America : ecological study. BMJ 1999;319:1397-400.

2. Gomes UA Silva AA, Bettiol H, Barbieri MA. Risk factors for the increasing caesarean section rate in Southeast Brazil: a comparison of two birth cohorts, 1978-1979 and 1994. Int J Epidemiol 1999;28:687-94.

3. Lin HC. Xirasagar S. Institutional factors in cesarean delivery rates : policy and research implications. Obstet Gynecol 2004;103:128-36.

4. Cunningham FG, Levono KI. Bloom SL, Hauth JC, Gilstrap LG In, Wenstrom KD. William Obstetrics 22th ed. Connecticut : Apple & Lange ; 2005:587-606.

5. วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, งามจิตติ จันทรสาธิต, ชลลดา สิทธิทูรย์ พรทิพย์ แซ่อึ้ง. รายงาน การวิจัยเรื่องแบบแผนการคลอดบุตรในโรงพยาบาล ปี 2533-3539. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ; 2541.

6. คณะอนุกรรมการอนามัยแม่และเด็ก ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย. สถิติหลักด้าน อนามัยแม่และเด็ก : รายงานเบื้องต้น. วารสารสูติศาสตร์นรีเวชวิทยาสาร ราชวิทยาลัย สูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย. 2544;10(3):20-6.

7. Utai Tansuwan. Cesarean section rates and trends in Nakornpanom Hospital, 1993-1999. Thai J Obetet Gynecol 2000;20(3):185-8.

8. ธนิตเชฏฐ รัตนาภิชาติ. อุบัติการณ์และแนวโน้มการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องโรงพยาบาล สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี. วารสารกรมการแพทย์ 2545;27(5):231-7.

9. ประวิทย์ ชัยกองเกียรติ. รายงานวิจัยเรื่องการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในโรงพยาบาลแม่และเด็กยะลา. วารสารวิชาการแพทย์ เขต 12 2544;12(4):10-2.

10. ธิติมา เหล่าศิริรัตน์. อุบัติการณ์การผ่าตัด คลอดทางหน้าท้องและแนวโน้มที่โรงพยาบาล นครนายก. วารสารวิชาการแพทย์ เขต 4 2544;20(3):163-70.

11. Appropriate technology for birth. Lancet 1985;2:436-7

12. Robson MS, Scudamore IW, Walsh SM. Using the medical audit cycle to reduce cesarean section rates. Am J Obstet Gynecol 1996;174:199-205.

13. ส่วนอนามัยแม่และเด็ก สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. สถานการณ์งานอนามัยแม่ และ เด็ก ปี พ.ศ. 2540-2544. กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข, 2545.

14. Lagrew DC Jr, Adashek JA. Lowering the cesarean section rate in a private hospital : comparison of individual physicians' rates, risk factors and outcomes. Am J Obstet Gynecol 1998;178(6):1207-14.

15. Eckerland I, Gerdtham UG. Estimating the effect of cesarean section rate on health outcome. Evidence from Swedish hospital data. International Journal of technology Assessment in Health Care. 1999;15:123-35.

16. Socol ML. Garcia PM, Peaceman AM, Dooley SL. Reducing cesarean births at a private university hospital. Am J obstet Gynecol 1993;168(6 pt1):1748-54.

17. Hyers SA, Gleicher N. A successful program to lower cesarean-section rates. N Eng J Med 1989;320(25):1692-4.

18. Sandmire HF, De Mott RK. The Green Bay cesarean section study. III. Falling cesarean section birth rates without a formal curtailment program. Am J Obstet Gynecol 1994;170:1790-2.