พฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นตอนต้น : แนวคิดและวิธีการจัดการโดยไม่ใช้ยา

Main Article Content

มลิวัลย์ รัตยา
อรวรรณ ฤทธิ์มนตรี

บทคัดย่อ

     บทความวิชาการฉบับนี้เขียนจากการทบทวนวรรณกรรมและประสบการณ์การทำงานของผู้เขียน ซึ่งกล่าวถึงความปวดที่เกิดจากการหดรัดตัวของมดลูกในระยะคลอด เป็นความปวดที่จะทวีความรุนแรงตามความก้าวหน้าของการคลอด หญิงตั้งครรภ์แต่ละรายจะแสดงพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดที่แตกต่างกันตามระยะของการคลอด หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นตอนต้นการพัฒนาทางด้านจิตใจยังไม่สมบูรณ์จึงไม่สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้ส่วนใหญ่จะมีอารมณ์รุนแรง อ่อนไหว เปลี่ยนแปลงได้ง่าย ส่งผลต่อการแสดงพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดที่ไม่เหมาะสมดังนั้นการจัดการความปวดแก่หญิงตั้งครรภ์โดยไม่ใช้ยาจึงเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยลดความปวด และเพิ่มความสุขสบายแก่หญิงตั้งครรภ์เมื่อความปวดลดลงมีความสุขสบายเพิ่มขึ้น หญิงตั้งครรภ์ที่เจ็บครรภ์คลอดก็จะสามารถเผชิญกับความเจ็บปวดได้อย่างเหมาะสม บทความฉบับนี้เป็นการทบทวนเนื้อหาเกี่ยวกับพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดระยะต่าง ๆ รวมถึงผลงานการวิจัยที่ผ่านมาซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดประเด็นการวิจัยการจัดการความเจ็บปวดในระยะต่าง ๆ ของการคลอดโดยไม่ใช้ยาได้ในอนาคต
คำสำคัญ: พฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอด หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นตอนต้น แนวคิดและการจัดการโดยไม่ใช้ยา

Article Details

บท
บทความฟื้นฟูวิชาการ

References

1. ทองพูล บัวศรี. ชีวิตของพ่อแม่วัยรุ่นในแหล่งก่อสร้าง. ใน: ประสงค์ ตันมหาสมุทร, พฤหัส จันทร์ประภาพ, อรรถพล ใจชื่น, ธันยารัตน์ วงค์วนานุรักษ์, ตรีภพ เลิศบรรณพงษ์, บรรณาธิการ. สูตินรีเวชทันยุค. กรุงเทพฯ : บริษัท พี.เอ. ลิฟวิ่ง; 2557: 7-12.

2. Lowdermilk DL. Labor and birth processes. In: Lowdermilk DL, Perry SE,Cashion K, Alden KR, Olshansky, E F, Eds. Maternity &women,s health care. 10th.ed. St Louis : Elsevier Mosby; 2011:369-85.

3. ศศิธร พุมดวง. สูติศาสตร์ระยะคลอด. พิมพ์ครั้งที่ 1. สงขลา : อัลลายด์เพลส; 2555.

4. Sauls DJ. Promoting a positive childbirth experience for adolescents. J Obstet Gynecol Neonatal Nurs 2010;39(6):703-12.

5. มลิวัลย์ รัตยา. ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดระยะที่ 1 ของการคลอดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. ภาควิชาการผดุงครรภ์ขั้นสูง. คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2557.

6. นราภรณ์ ฤทธิเรือง,พิริยา ศุภศรี, สุพิศ ศิริอรุณรัตน์. ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอด. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2560;9(3):48-56.

7. Murray SS., Mckinney ES. Foundations of maternal newborn and women,s health Nursing. 5th ed. Maryland : Saunders Elsevier; 2010.

8. วีรวรรณ ภาษาประเทศ, เพ็ญพักต์ ลูกอินทร์, สิตานันท์ ศรีใจวงศ์. การพยาบาลระยะคลอด. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : ยุทธรินทร์การพิมพ์; 2556.

9. นันทพร แสนศิริพันธ์, สุกัญญา ปริสัญญกุล. การพยาบาลในระยะคลอด: แนวคิด ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ : ครองช่างพริ๊นท์ติ้ง จำกัด; 2558.

10. Hamilton AC. Pain relief and comfort in labor. In: Fraser DM., Cooper MA., Eds. Myles textbook formidwives. 14th ed. Philadelphia : Churchill Livingstone; 2009:471-85.

11. หญิง แท่นรัตน์. ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเผชิญการเจ็บครรภ์คลอดต่อคะแนนความเจ็บปวดและการรับรู้ประสบการณ์การคลอดของผู้คลอดครั้งแรก. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. สาขาการผดุงครรภ์ขั้นสูง, คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา; 2559.

12. ศศิธร เตชะมวลไววิทย์. ความปวดและการจัดการความปวดของมารดาในระยะที่หนึ่งของการคลอด. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2558;31(1):114-24.

13. ปาริฉัตร อารยะจารุ, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, วรรณา พาหุวัฒนกร. ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ต่อความวิตกกังวล ระดับความเจ็บปวดและพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก. วารสารสภาการพยาบาล 2555;27(4):96-108.

14. ทิวากร ชำนิกุล, พักตร์พิไล ศรีแสง. ผลของโปรแกรมแรงสนับสนุนจากญาติต่อความเจ็บปวดของผู้คลอดครรภ์แรกในระยะที่ 1 ของการคลอด. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2553;33(1):33-42.

15. เบญจมาภรณ์ ชูช่วย. ผลของโปรแกรมการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องโดยพยาบาลต่อระดับความเจ็บปวดและพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในหญิงวัยรุ่นครรภ์แรก. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. ภาควิชาการผดุงครรภ์ขั้นสูง. คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2558.

16. สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล, ปราณิสา กิตติปฤษฎา. ผลของโปรแกรมให้ความรู้ และการช่วยเหลือของญาติต่อความเจ็บปวด ความกลัว และความวิตกกังวลของผู้คลอดครรภ์แรกในระยะ ที่หนึ่งของการคลอด. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2557;36(1):23-30.

17. ดาริกา วรวงศ์, สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล, ชุดา ไชยศิวามงคล. ระดับความเจ็บปวดของมารดาในระยะที่ 1 ของการคลอดหลังได้รับการบรรเทาปวด โดยใช้เทคนิคการหายใจ การลูบหน้าท้อง และการนวดก้นกบ. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2554;34(3):31-9.

18. เนตรชนก แก้วจันทา. ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตั้งครรภ์: ปัจจัย ผลกระทบ และการป้องกัน. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 2555;35(1):83-90.

19. Catalano RF, Fagan AA, Gavin LE, Greenberg MT, Irwin CE Jr, Ross DA, et al. Worldwide application of prevention science in adolescent health. Lancet 2012;379(9826):1653-64.

20. Solomon-Fears C. Teenage pregnancy prevention: Statistic and programs. Congressional Research Service, CRS Report for CongressPrepared for Members and Committees of Congress. 2013 [cited 2019 March 20] Available from:URL: https://www.fas.org/sgp/crs/misc/RS20301.pdf.

21. Yang Z, Gaydos LM. Reasons for and challenges of recent increases in teen birth rates: a study of family planning service policies and demographic changes at the state level. J Adolesc Health 2010;46(6):517-24.

22. สินีนาฏ หงส์ระนัย. การพยาบาลในระยะคลอด: หลักฐานเชิงประจักษ์จากงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : แดเน็กอินเตอร์คอร์ปอเรชั่น; 2555.

23. Miquelutti MA., Cecatti JG., Morais SS., Makuch M Y. The vertical position duringlabor: Pain and satisfaction. Rev. Bras. Saúde Mater. Infant 2009;9(4):393-8.

24. สลิตตา อินทร์แก้ว. ผลของการนวดแผนไทยต่อความปวดในระยะคลอด. [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต]. ภาควิชาการผดุงครรภ์ขั้นสูง. คณะพยาบาลศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2555.