สถานการณ์และลักษณะของเด็กที่มีปัญหาพูดช้าในจังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

นิติภรณ์ บุษบงก์

บทคัดย่อ

หลักการและเหตุผล: ปัญหาพัฒนาการทางภาษาล่าช้าเป็นปัญหาที่พบบ่อยในคลินิกพัฒนาการเด็กโรงพยาบาลศรีสะเกษแต่ยังขาดการรวบรวมข้อมูล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบสถานการณ์และทราบลักษณะทั่วไปในเด็กที่พูดช้า
วิธีการเก็บข้อมูล: รูปแบบการวิจัยเป็น Descriptive study แบบเก็บข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี จากเวชระเบียนและจากคลินิกพัฒนาการเด็ก(retrospective data collection)โดยประชากรที่ศึกษาเป็นเด็กอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ปี วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาเป็นจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษา: เด็กที่มีปัญหาพูดช้าพบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 62 ถูกเลี้ยงดูโดยบิดามารดาเป็นหลักและส่วนใหญ่มารดามีระดับการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี พบเป็นกลุ่มเด็กที่มีน้ำหนักตัวน้อยตั้งแต่แรกเกิด( low birth weight ) ร้อยละ 71.5 และพบมีปัญหาในช่วงแรกเกิด ร้อยละ 30 ส่วนใหญ่ได้รับการวินิจฉัยเป็นภาวะ developmental language disorder ร้อยละ 46 ในแง่การเลี้ยงดูที่พบ ได้แก่ การใช้สื่อมากกว่า 2 ชม ต่อวัน การใช้ภาษามากกว่า 2 ภาษา ( ภาษาถิ่น) และทำกิจกรรมกระตุ้นทักษะทางภาษาน้อย
สรุป: เด็กพูดช้าในจังหวัดศรีสะเกษ ส่วนใหญ่ได้รับการวินิจฉัยเป็นภาวะ developmental language Disorder และพบว่าลักษณะร่วมที่สำคัญ คือ เป็นเด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อย (low birth weight ) และใช้สองภาษาขึ้นไปในการเลี้ยงดู (ภาษาถิ่นและภาษาไทย)
คำสำคัญ: พูดช้า ความล่าช้าด้านภาษา พัฒนาการทางภาษาล่าช้า

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์. พัฒนาการทางภาษาล่าช้า. ใน: ทิพวรรณหรรษคุณาชัย, รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์, ชาคริยา ธีรเนตร, อดิศร์สุดา เฟื่องฟู, สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงศ์, พงษ์ศักดิ์ น้อยพยัคฆ์, บรรณาธิการ. ตำราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กสำหรับเวชปฏิบัติทั่วไป. กรุงเทพฯ : ชมรมพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก; 2554:285-98.

Stein MT, Parker S, Coplan J, Feldman H. Expressive language delay in a toddler. J Dev Behav Pediatr 2001;22(2 Suppl):S99-103. PMID: 11332819

Feldman HM. Evaluation and management of language and speech disorders in preschool children. Pediatr Rev 2005;26(4):131-42. doi: 10.1542/pir.26-4-131.

Tomblin JB, Records NL, Buckwalter P, Zhang X, Smith E, O'Brien M. Prevalence of specific language impairment in kindergarten children. J Speech Lang Hear Res 1997;40(6):1245-60. doi: 10.1044/jslhr.4006.1245.

Law J, Boyle J, Harris F, Harkness A, Nye C.. Prevalence and natural history of primary speech and language delay: findings from a systematic review of the literature. Int J Lang Commun Disord 2000;35(2):165-88. doi: 10.1080/136828200247133.

Rapin I. Practitioner review: developmental language disorders: a clinical update. J Child Psychol Psychiatry. 1996 Sep;37(6):643-55. doi: 10.1111/j.1469-7610.1996.tb01456.x.

สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. รายงานประจำปี 2560 สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัทสามเจริญพาณิชย์(กรุงเทพฯ)จำกัด; 2560.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ. รายงานตัวชี้วัดของกระทรวง ปี 2562. [อินเตอร์เน็ต]. 2562. [สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2563]. เข้าถึงได้จาก: URL: https://ssk.hdc.moph.go.th/hdc/reports/page_kpi.php?flag_kpi_level=1&flag_kpi_year=2019.

Simms MD, Schum RL. Language development and communication disorder. In: Beheman RE, Kliegman RM, Jensen HB, Stanton BF, eds. Nelson Textbook of Pediatrics 18th ed. Philadelphia : WB Suanders; 2007: 152-62.

Kelly DP, Salley JI, Disorders of speech and language. In: Levine MD, Carey WB, Crocker AC, eds. Developmental-Behavioral pediatrics. Philadelphia : WB Suanders; 1999 : 594-5.

McLaughlin MR. Speech and language delay in children. Am Fam Physician 2011;83(10):1183-8. PMID: 21568252

ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาเด็กที่มีภาวะพูดช้า. [อินเตอร์เน็ต]. 2561. [สืบค้นเมื่อ 2 กรกฏาคม 2561]. เข้าถึงได้จาก: URL: http://www.thaipediatrics.org/pages/doctor/detail/8/98

Lean RE, Paul RA, Smyser CD, Rogers CE. Maternal intelligence quotient (IQ) predicts IQ and language in very preterm children at age 5 years. J Child Psychol Psychiatry 2018;59(2):150-9. doi: 10.1111/jcpp.12810.

Hillman LS, Day LS, Hoffman HJ, Stockbauer JW. Poorer outcomes of all low birth weight groups at age 10: Missouri statewide case-control study. Early Hum Dev 2019;136:60-9. doi: 10.1016/j.earlhumdev.2019.05.006.

Mamdouh H, El-Badry M M, Zaky E A, Helmy W. Assessment of language disorders in low birth weight children. Egypt J Otolaryngol 2015;31:254-63

American Academy of Pediatrics, Joint Committee on Infant Hearing. Year 2007 position statement: Principles and guidelines for early hearing detection and intervention programs. Pediatrics 2007;120(4):898-921. doi: 10.1542/peds.2007-2333.