ปวดจากมะเร็ง (Cancer Pain) สำหรับนักศึกษาแพทย์ แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป และบุคคลที่สนใจ
Main Article Content
บทคัดย่อ
อาการปวดในผู้ป่วยมะเร็งพบได้บ่อยในเวชปฏิบัติและจัดเป็นปัญหาที่ทีมดูแลแบบประคับประคอง(palliative care team) ได้รับการปรึกษาบ่อย โดยเฉพาะในผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายจะมีอาการปวดร่วมด้วยได้ถึงร้อยละ 64 แต่กลับมีการดูแลรักษาอาการปวดได้เหมาะสมเพียงร้อยละ 50เท่านั้น
ในบทความนี้จะกล่าวถึงหลักการประเมินอาการปวดในผู้ป่วยมะเร็ง พยาธิกำเนิดของอาการปวด หลักการรักษาอาการปวดจากมะเร็ง ผลข้างเคียงของยาบรรเทาปวด แนวทางการปรับยาบรรเทาปวดกรณีผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกเบื้องต้น เพื่อให้สามารถส่งต่อปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านมะเร็งหรือความเจ็บปวดได้อย่างเหมาะสม โดยคาดหวังให้แพทย์เวชปฏิบัติมีความมั่นใจและสามารถดูแลอาการปวดในผู้ป่วยมะเร็งได้
คำสำคัญ: อาการปวด ปวดจากมะเร็ง ประเมินอาการปวดโรคมะเร็ง
Article Details
References
Ripamonti CI, Santini D, Maranzano E, Berti M, Roila F; ESMO Guidelines Working Group. Management of cancer pain: ESMO Clinical Practice Guidelines. Ann Oncol 2012;23 Suppl 7:vii139-54. doi: 10.1093/annonc/mds233.
Portenoy RK. Treatment of cancer pain. Lancet 2011;377(9784):2236-47. doi: 10.1016/S0140-6736(11)60236-5.
Yam MF, Loh YC, Tan CS, Khadijah Adam S, Abdul Manan N, Basir R. General Pathways of Pain Sensation and the Major Neurotransmitters Involved in Pain Regulation. Int J Mol Sci 2018;19(8):2164. doi: 10.3390/ijms19082164.
Fallon M, Giusti R, Aielli F, Hoskin P, Rolke R, Sharma M, et al. Management of cancer pain in adult patients: ESMO Clinical Practice Guidelines. Ann Oncol 2018;29(Suppl 4):iv166-iv191. doi: 10.1093/annonc/mdy152.