การพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่ง จากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

Main Article Content

ภัทรารัตน์ ตันนุกิจ
สุวดี สุขีนิตย์
จิราพร เชาว์โพธิ์ทอง

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: 1) เพื่อพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและ 2) เพื่อประเมินความเหมาะสมของแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ


วิธีดำเนินการวิจัย: เป็นการวิจัยและพัฒนามี 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การพัฒนาแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและ2) ประเมินระดับการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ กลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 1 เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ และพยาบาลด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ จำนวน 18 คน ขั้นตอนที่ 2 เป็นพยาบาลปฏิบัติงานด้านการพยาบาลผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำในโรงพยาบาลกลาง และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า จำนวน 77 คน


ผลการวิจัย: พบว่า 1. แนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ประกอบด้วย 1.1)  แนวทางปฏิบัติฯ เชิงโครงสร้าง จำนวน 4 ข้อ 1.2) แนวทางปฏิบัติฯ เชิงกระบวนการ จำนวน 4 ข้อ และ 1.3) แนวทางปฏิบัติฯ เชิงผลลัพธ์ จำนวน 2 ข้อ 2. ความเหมาะสม ของแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำอยู่ในระดับมากที่สุด


สรุป: แนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ มีทั้งหมด 50 ข้อ และความเหมาะสมของแนวทางปฏิบัติในการป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มตำและการสัมผัสสารคัดหลั่งจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ส่วนใหญ่ระดับความเหมาะสมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

National Institute for Occupational Safety and Health. NIOSH alert: Preventing needlestick injuries in health

care settings [internet]. 2000 [cited 2020 May 30]. Available from: www.cdc.gov/niosh/2000-108.html.

Himmelreich H, Rabenau HF, Rindermann M, Stephan C, Bickel M, Marzi I, et al.

The management of needlestick injuries. Deutsches arzteblatt international 2013; 110: 61–7.

International sharps injury prevention society (ISIPS). Needlestick [internet]. 2020 [cited

May 20]. Available from: from http://isips.org/#.

Kebede A, Gerensea H. Prevalence of needle stick injury and its associated factors among nurses

working in public hospitals of Dessie town, Northeast Ethiopia, 2016 [internet]. 2018 [cited

May 20]. Available from: https://doi.org/10.1186/s13104-018-3529-9.

Memish ZA, Assiri AM, Eldalatony MM, Hathout HM, Alzoman H, Undaya M.

Risk analysis of needle stick and sharp object injuries among health care workers in a tertiary care

hospital (Saudi Arabia). J Epidemiol Glob Health 2013; 3: 123-9.

Garus-Pakowska A, Górajski M. Behaviors and attitudes of Polish health care workers with respect

to the hazards from blood-borne pathogens: a questionnaire-based study. Int J Environ Res Public Health

; 16 : 1-13.

Moro PL, Moore A, Balcacer P, Montero A, Diaz D, Gómez V, et al. Epidemiology of needlesticks and other

sharps injuries and injection safety practices in the Dominican Republic. AJIC 2007;

: 552-9.

ไมยรา เศรษฐมาศ, กฤษดา แสวงดี, ตวงทิพย์ ธีระวิทย์, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, สมศักดิ์ พิทักษานุรัตน์,

บัณฑิต ถิ่นคำรพ, และคณะ. อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงต่อการถูกเข็มทิ่มตำและของมีคมบาดในพยาบาล

วิชาชีพประเทศไทย. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา 2561; 16 (1): 17- 28.

World Health Organization. Nursing matters fact sheets: ICN on preventing needlestick injuries [internet]. 2000

[cited 2020 May 15]. Available from: http://origin.who.int/occupational_health/activities/2icnneed.pdf.

สุวดี สุขีนิตย์. แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ดีวัน; 2563.

Mainz J. Defining & classifying clinical indicators for quality improvement. Int J Qual Health Care

; 15: 523-30.

บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ:

ยูแอนด์ไออินเตอร์มีเดีย; 2550.

พิสณุ ฟองศรี. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ด่านสุธาการพิมพ์; 2553.

American Nurses Association. ANA’s Needlestick prevention guide [internet]. 2002

[cited 2020 May 12]. Available from: https://www.who.int/occupational_health/activities/2needguid.pdf.

Health Service Executive. HSE Policy on the prevention of sharps injuries [internet]. 2016

[cited 2020 April 22]. Available from: https://www.hse.ie/eng/staff/safetywellbeing/

shealthsafetyand%20wellbeing/hse%20policy%20for%20the%20prevention%20of%20

sharps%20injuries.pdf.

Canadian Center for Occupational Health and Safety (CCOHS). OHS Answers fact sheets:

Needlestick and sharps injuries [internet]. 2018 [cited 2020 May 5]. Available from:

https://www.ccohs.ca/oshanswers/diseases/needlestick_injuries.html.

Akpinar-Elci M, Bidaisee S, Durgampudi P, Radix R, Rodriquez-Guzman J, Thuy Nguyen M, et al. Needlestick injury prevention training among health care workers in the Caribbean [internet]. 2018 [cited 2020 May 30]. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/31093121/